แนวทางการพัฒนามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้จักรยาน ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศ

dc.contributor.authorกวินศรินยา รองเรืองแย้มen_US
dc.date.accessioned2560-09-28T07:36:27Z
dc.date.available2017-09-28T07:36:27Z
dc.date.issued2560
dc.descriptionกวินศรินยา รองเรืองแย้ม. แนวทางการพัฒนามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้จักรยาน ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศ. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตมหาบัณฑิตกลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ.2560.en_US
dc.description.abstractปัจจุบันจำนวนการใช้จักรยานและจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดกับการใช้จักรยานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่กฎหมายเกี่ยวกับจักรยานที่ใช้อยู่ในประเทศไทยนั้นไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ เนื่องจากเป็นกฎหมายเก่าที่ยังมิได้มีการแก้ไขปรับปรุงให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ผู้เขียนจึงมีความประสงค์จะวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาการใช้จักรยานและมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้จักรยานในประเทศไทยโดยเปรียบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับจักรยานในประเทศไทยให้ทันสมัยและเหมาะสมต่อไป ในการทำสารนิพนธ์นี้ ผู้เขียนพบปัญหาและอุปสรรคสำคัญของการใช้จักรยานในประเทศไทยหลายประการ เช่น สภาพพื้นผิวการจราจร ลักษณะโครงสร้างพื้นฐานและผังเมืองในปัจจุบันไม่เอื้ออำนวยต่อการปั่นจักรยานประกอบกับการจัดทำเส้นทางจักรยานยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร และกฎหมายที่ใช้ในปัจจุบันยังมีข้อบกพร่องอื่นๆ อีกหลายประการได้แก่ บทบัญญัติไม่ชัดเจน ไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน การบังคับใช้กฎหมายยังขาดประสิทธิภาพ และการชดใช้ค่าเสียหายที่ไม่เป็นธรรม ในขณะที่ต่างประเทศมีกฎหมายและมาตรการในการบริหารจัดการที่ทันสมัยกว่า เช่น ประเทศอิตาลีและประเทศฮังการีมีกฎหมายและมาตรการสนับสนุนในการจัดทำโครงการเมืองจักรยานรวมทั้งมีการส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพสำหรับจักรยานเช่นเดียวกันกับสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่มีการจัดตั้ง CYCLOCITY เพื่อให้ประชาชนยืมใช้จักรยานได้อย่างสะดวก ส่วนในประเทศอังกฤษก็มีการส่งเสริมการใช้จักรยานโดยใช้มาตรการจูงใจทางภาษีมาสนับสนุน รวมถึงมีการจัดตั้งสถาบันส่งเสริมการใช้จักรยานดังเช่นในกรณีของประเทศญี่ปุ่น และที่ก้าวหน้าไปกว่านั้นก็คือมีการจัดตั้งสมาพันธ์ผู้ปั่นจักรยานในสหภาพยุโรปขึ้นมาอย่างเป็นทางการนอกจากนี้ยังพบว่าประเทศต่างๆที่ได้ทำการศึกษาวิจัยมีการกำหนดบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการใช้จักรยานไว้ค่อนข้างชัดเจน ทั้งในเรื่องของข้อกำหนด การลงโทษและการเยียวยาความเสียหายen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.identifier.citationกวินศรินยา รองเรืองแย้ม. 2560. "แนวทางการพัฒนามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้จักรยาน ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศ." สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5402
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_กวินศรินยา _2560en_US
dc.subjectจักรยานen_US
dc.subjectผู้ใช้จักรยานen_US
dc.subjectกฎหมายจักรยานen_US
dc.subjectการส่งเสริมการใช้จักรยานen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้จักรยาน ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศen_US
dc.title.alternativeLEGAL MEASURE DEVELOPMENT RELATING TO USING BICYCLE IN THAILAND : COMPARISON STUDY WITH FOREIGN LAWSen_US
dc.typeOtheren_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 5 ของ 14
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
ปก-กวินศรินยา -นิติ-2560.pdf
ขนาด:
129.55 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
ปกใน-กวินศรินยา -นิติ-2560.pdf
ขนาด:
22.17 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
บทคัดย่อ-กิตติกรรมประกาศ-กวินศรินยา -นิติ-2560.pdf
ขนาด:
316.29 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
บทที่ 1 .pdf
ขนาด:
310.02 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
บทที่ 2.pdf
ขนาด:
862.59 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: