มาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา : กรณีศึกษาสิทธิบัตรยากับการคุ้มครองผลประโยชน์ของประเทศไทย

dc.contributor.authorธนกฤต หงษ์ฤทัยen_US
dc.date.accessioned2555-11-21T04:27:55Z
dc.date.available2555-11-21T04:27:55Z
dc.date.issued2555-11-21T04:27:55Z
dc.description.abstractมาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา(Compulsory Licensing) เกิดขึ้นในประเทศไทยครั้งแรกโดยนายแพทย์มงคล ณ สงขลา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ตัดสินใจบังคับใช้สิทธิบัตรยามาตรา 51 ของพระราชบัญญัติ สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 เจตนารมณ์คือต้องการให้ยามีราคาถูกลงและประชาชนเข้าถึงยาได้ง่ายขึ้น โดยเบื้องต้นได้ประกาศใช้สิทธิบัตรยาด้านไวรัสเอสไอวี ได้แก่ ยาเอฟาไวเรนซ์ (Effavirenz) และยาสูตรผสมระหว่างโลพินาเวียร์และแรโทนาเวียร์ (Lopinavir & Ritonavir) ที่จำหน่ายภายใต้เครื่องหมาย ยาโคลพิโดเกรล(Clopidogrel) ที่จำหน่ายในชื่อ พลาวิคซ์ (Plavix) แม้จะเป็นการใช้สิทธิโดยรัฐเพื่อสาธารณประโยชน์ที่มีวัตถุประสงค์เชิงพาณิชน์ (Public Non-Commercial Use) และสอดคล้องกับความตกลงทริปส์ (The Agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights) ขององค์การการค้าโลก (World Trade Organization- WTO) ข้อ 31 (b)en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.identifier.citationธนกฤต หงษ์ฤทัย. 2552. "มาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา : กรณีศึกษาสิทธิบัตรยากับการคุ้มครองผลประโยชน์ของประเทศไทย." สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4169
dc.subjectสิทธิบัตรยาen_US
dc.subjectกฎหมายen_US
dc.titleมาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา : กรณีศึกษาสิทธิบัตรยากับการคุ้มครองผลประโยชน์ของประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
IS_52_นบ_ธนกฤต หงษ์ฤทัย.pdf
ขนาด:
4.43 MB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.72 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: