การพัฒนาการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหว โดยใช้หลักการให้โครงสร้างมีความเสียหายคงที่
กำลังโหลด...
วันที่
2555
ผู้เขียน
ชื่อวารสาร
วารสาร ISSN
ชื่อหนังสือ
สำนักพิมพ์
เชิงนามธรรม
การพัฒนากราฟการออกแบบ Design Spectra สำหรับการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานแรงแผ่นดินไหวแนวทางใหม่ในการวิจัยนี้ อาศัยหลักการของความเสียหายคงที่ โดยได้คำนวณจากคลื่นแผ่นดินไหว จำนวน 134 คลื่น ซึ่งได้บันทึกบนสภาพธรณีวิทยา 3 ประเภท คือก) สภาพชั้นหิน ข) สภาพชั้นดินตะกอน และ ค) สภาพชั้นดินอ่อน โดยที่ระบบโครงสร้างแต่ละอาคารพิจารณา Single-Degree-Of-Freedom (SDOF) และได้แบ่งระบบโครงสร้างออกเป็น 2 ประเภทตามพฤติกรรมของ Hysteretic Behavior คือ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและโครงสร้างเหล็ก กราฟการออกแบบสามารถแสดงอยู่ในรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ โดยจำแนกออกได้เป็น 2 วิธี คือ 1. ตัวประกอบของการลดกำลังของ Yield Strength
สำหรับระดับความเสียหายที่ 2. การคำนวณ Design Spectra สำหรับระดับความเสียหายคงที่ โดยวิธีตรง จากกราฟการออกแบบที่เสนอในรูปของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์นี้ วิศวกรผุ้ออกแบบสามารถคำนวณหาความต้องการกำลัง ของโครงสร้างได้โดยการกำหนดค่าระดับความเสียหายที่เหมาะสม สำหรับพฤติกรรมของ Hysteretic Behavior ของแต่ละโครงสร้าง สำหรับค่าอ่อนเหนียว, ค่าคาบการสั่นตามธรรมชาติ และสภาพธรณีวิทยาแต่ละแห่ง...
คำอธิบาย
คำหลัก
แผ่นดินไหว, ความเสียหาย
การอ้างอิง
ไพบูลย์ ปัญญาคะโป. 2542. "การพัฒนาการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหว โดยใช้หลักการให้โครงสร้างมีความเสียหายคงที่." ผลงานวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.