ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอาง

dc.contributor.authorธิดามนู ใยบัวทองen_US
dc.date.accessioned2562-09-28T06:56:53Z
dc.date.available2019-09-28T06:56:53Z
dc.date.issued2562
dc.descriptionธิดามนู ใยบัวทอง. ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอาง. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2562.en_US
dc.description.abstractในเรื่องความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอางพบว่ามาตรฐานเครื่องสำอางในประเทศไทยยังไม่ได้คุณภาพมาตรฐานเนื่องจากกฎหมายที่บังคับใช้ในประเทศไม่ได้ปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับมาตรฐานเครื่องสำอางแห่งอาเซียน (ASEAN Cosmetic Directive) และเพื่อให้พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558 ครอบคลุมถึงเรื่อง GMP (good manufacturing practice) เพื่อป้องกันปัญหาการผลิตเครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐานมากขึ้น ผู้เขียนจึงมีความประสงค์จะวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอางโดยเปรียบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอางในประเทศไทยให้สอดคล้องกับมาตรฐานเครื่องสำอางแห่งอาเซียน (ASEAN Cosmetic Directive) ต่อไป ในการทำสารนิพนธ์นี้ ผู้เขียนพบปัญหาและอุปสรรคสำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอาง เช่น ปัญหาการควบคุมทางกฎหมาย การกำหนดกฎหมายเครื่องสำอางให้สอดคล้องกันกับคำสั่งเพื่อการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอางของอาเซียน (ASEAN Cosmetic Directive) และการรวบรวมกฎหมายเครื่องสำอางให้เป็นปัจจุบัน วิธีการควบคุมโดยอาศัยกฎหมายมาตรฐานเครื่องสำอาง การกำหนดกฎหมายขั้นตอนการผลิตเครื่องสำอางภายใต้มาตรฐานเดียวกัน การควบคุมการจำหน่ายและการนำเข้าเครื่องสำอางอย่างเคร่งครัด วิธีการควบคุมโดยอาศัยกฎหมายอื่นๆ การปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอางการกำหนดกฎหมายให้ชัดเจนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภค การบังคับใช้กฎหมาย การเยียวยาความเสียหาย บทลงโทษผู้ประกอบการที่ฝ่าฝืน ในขณะที่ต่างประเทศมีกฎหมายและมาตรการในการควบคุมมาตรฐานความปลอดภัยเครื่องสำอาง ที่ได้มาตรฐานกว่า เช่น กฎหมาย EU Cosmetics Regulations ซึ่งทุกประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปจะต้องปฏิบัติตามภายใต้มาตรฐานเดียวกันเกี่ยวกับการกำหนดการควบคุมสารจำเพาะ และกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนมีบทบัญญัติเครื่องสำอางแห่งอาเซียน(ASEAN Cosmetic Directive) ที่ต้องปฏิบัติตามไว้ชัดเจนทั้งในเรื่องมาตรฐานการผลิตเครื่องสำอางการลงโทษและการเยียวยาความเสียหายen_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.identifier.citationธิดามนู ใยบัวทอง. 2562. "ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอาง." สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6391
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_ธิดามนู ใยบัวทอง_T184553_2562en_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางen_US
dc.subjectมาตรฐานการผลิตen_US
dc.subjectบทบัญญัติเครื่องสำอางอาเซียนen_US
dc.subjectเยียวยาค่าเสียหายen_US
dc.subjectเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัยen_US
dc.titleปัญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยในสินค้าเครื่องสำอางen_US
dc.title.alternativeLEGAL PROBLEMS RELATING TO SAFETY STANDARD OF COSMETIC GOODSen_US
dc.typeOtheren_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 5 ของ 14
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
1 หน้าปก.pdf
ขนาด:
57.71 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
2 บทคัดย่อ.pdf
ขนาด:
190.7 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
3 ABSTRACT.pdf
ขนาด:
66.85 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
4 กิติกรรมประกาศ.pdf
ขนาด:
163.04 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
5 สารบัญ.pdf
ขนาด:
156.85 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: