การทดสอบการตอบสนองต่ออิมพัลส์ฟ้าผ่าของระบบรากสายดิน

dc.contributor.authorสำเริง ฮินท่าไม้th_TH
dc.contributor.authorนิมิต บุญภิรมย์th_TH
dc.contributor.authorภรชัย จูอนุวัฒนกุลth_TH
dc.contributor.authorวันชัย จันไกรผลth_TH
dc.date.accessioned2563-11-02T15:33:09Z
dc.date.available2020-11-02T15:33:09Z
dc.date.issued2563-10
dc.description.abstractในบทความนี้เป็นการทดสอบการตอบสนองต่ออิมพัลส์ฟ้าผ่าของระบบรากสายดินด้วยการพิจารณาชนิดของดิน โดยทำการตรวจวัดค่าความต้านทานดินที่ความถี่กำลังด้วยเครื่องวัดความต้านทานดินโดยวิธีการวัดแบบ 3 จุดและทำการทดสอบการตรวจวัดค่าความต้านทานดินอิมพัลส์ด้วยเครื่องจำลองกระแสฟ้าผ่า จากผลการทดสอบพบว่ากรณีค่าความต้านทานจำเพาะของดิน, ρ น้อยกว่า 100 โอห์ม-เมตร ค่าความต้านทานดินที่ความถี่กำลังจะมีค่าน้อยกว่าค่าความต้านทานดินอิมพัลส์,และสัมประสิทธิ์อิมพัลส์ของดิน, αจะมีค่ามากกว่า 1 และเมื่อค่าความต้านทานจำเพาะของดินρมีค่ามากกว่า 100 โอห์ม-เมตร ค่าความต้านทานดินที่ความถี่กำลังจะมีค่ามากกว่าค่าความต้านทานดินอิมพัลส์, และสัมประสิทธิ์อิมพัลส์ของดิน,αจะมีค่าน้อยกว่า 1 ดังนั้นในการออกแบบระบบรากสายดิน เมื่อทราบค่าความต้านทานจำเพาะของดิน, ρ ทำให้ได้ค่าสัมประสิทธิ์อิมพัลส์ของดิน, αหรือความสัมพันธ์ระหว่างค่าความต้านทานดินที่ความถี่กำลัง, ACRและความต้านทานดินอิมพัลส์ หากค่าความต้านทานใดมีค่ามากกว่าก็นำค่าความต้านทานดินนั้นไปทำการออกแบบระบบรากสายดินต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.identifier.citationมหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7019
dc.subjectความต้านทานจำเพาะของดิน ความต้านทานดินที่ความถี่กำลังความต้านทานดินอิมพัลส์ สัมประสิทธิ์อิมพัลส์ของดินth_TH
dc.titleการทดสอบการตอบสนองต่ออิมพัลส์ฟ้าผ่าของระบบรากสายดินth_TH
dc.title.alternativeLightning Response Testing of Grounding Systemth_TH
dc.typeArticleth_TH

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
PW-21-P00350.pdf
ขนาด:
681.58 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: