สิทธิหน้าที่
dc.contributor.author | ชมพู โกติรัมย์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2555-05-01T06:55:59Z | |
dc.date.available | 2555-05-01T06:55:59Z | |
dc.date.issued | 2551-03-10 | |
dc.description | บทความวิชาการ | en_US |
dc.description.abstract | บนส้นทางการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เป็นเส้นทางที่ประชาชนต้องต่อสู้ บางครั้งต้องแลกมาด้วยเลือดเนื้อ หากยอมรับว่าการเมืองคือการอาสาเข้ามาบริหารแผ่นดินเพื่อให้ทรัพยากรของชาติบรรดาที่มีอยู่ให้เกิดประประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติอย่างยุติธรรม โดยที่การอาสานั้นได้รับความไว้วางใจและมอบหมายอำนาจที่มีอยู่จากประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจที่แท้จริง ฉะนั้นการเมืองแบบตัวแทน(ผู้ทำหน้าที่แทน) ยิ่งต้องมีปมสำนึกสาธารณะมากเป็นทวีคูณ จึงจะจัดสรรทรัพยากรของชาติกระจายทั่วถึงเพื่อคนในชาติก้าวข้ามกลุ่มผลประโยชน์บางกลุ่ม ตรงนี้หากพิจารณาตามลักษณะสังคมวิทยาการเมืองแล้วจะเห็นว่า สังคมประกอบด้วยกลุ่มคนมากมายโดยที่แต่ละกลุ่มนั้นๆมักมีผลประโยชน์ร่วมกันตามลักษณะอาชีพ การจัดสรรอำนาจตามหลักรัฐศาสตร์ที่ใช้เงื่อนไขของรัฐธรรมนูญเป็นกติกาของรัฐหนึ่งเดียว (เอกบรรทัดฐาน) เพื่อบังคับใช้ในสังคมที่มีความหลากหลายระหว่างกลุ่มต่างๆที่มีความต่างในเรื่องศาสนาวัฒนธรรม | en_US |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยศรีปทุม | en_US |
dc.identifier.citation | หนังสือพิมพ์สยามธุรกิจ. (10 March 2551) | en_US |
dc.identifier.uri | https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/3532 | |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | หนังสือพิมพ์สยามธุรกิจ | en_US |
dc.subject | สิทธิหน้าที่ | en_US |
dc.subject | รัฐธรรมนูญ | en_US |
dc.title | สิทธิหน้าที่ | en_US |
dc.type | Article | en_US |