สถาปัตยกรรมกับการยอมรับบุคคลออทิสติกในสังคม : ศูนย์กลางทางสังคมของบุคคลออทิสติก
dc.contributor.author | ธนัญญา บุญรังษี | th_TH |
dc.date.accessioned | 2565-10-26T06:17:51Z | |
dc.date.available | 2022-10-26T06:17:51Z | |
dc.date.issued | 2565 | |
dc.description | ตารางและภาพประกอบ | |
dc.description.abstract | ในสังคมไทยส่วนมากยังมองบุคคลออทิสติกอย่างคติซึ่งนำไปสู่การกดดันทำให้ผู้ปกครองบางส่วนไม่อาจยอมรับได้เมื่อรู้ว่าลูกของตนเป็นหนึ่งในคนกลุ่มนี้ ดังนั้นปัจจุบันได้มีการส่งเสริมให้ความสำคัญกับบุคลออทิสติกโดยการร่วมมือของภาครัฐและภาคเอกชน แต่คนในสังคมส่วนมากยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลกลุ่มนี้ที่มีการแสดงออกที่มากเกินและไม่สามารถแสดงออกเหมือนบุคคลทั่วไป ดังนั้นควรมีสถานทที่ที่สามารถเพิ่มทักษะที่ขาดส่งเสริมทักษะที่เด่นร่วมกับการสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนในครอบครัว คนในสังคมเพื่อให้เกิดความเข้าใจและยอมรับของทุกฝ่าย โดยเริ่มศึกษาจากลักษณะพฤติกรรม ทฤษฎีทางสังคม รูปแบบดารทำกิจกรรม กรณีศึกษาที่ที่สร้างจรงจากแหล่งข้อมูลเอกสารวิชาการ บทความ สื่อออนไลน์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ | th_TH |
dc.description.sponsorship | Sripatum University | th_TH |
dc.identifier.citation | ธนัญญา บุญรังษี. 2564. "สถาปัตยกรรมกับการยอมรับบุคคลออทิสติกในสังคม : ศูนย์กลางทางสังคมของบุคคลออทิสติก." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. | th_TH |
dc.identifier.uri | https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8524 | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศรีปทุม | th_TH |
dc.subject | บุคคลออทิสติก | th_TH |
dc.subject | บำบัด | th_TH |
dc.subject | ทักษะ | th_TH |
dc.subject | สังคม | th_TH |
dc.title | สถาปัตยกรรมกับการยอมรับบุคคลออทิสติกในสังคม : ศูนย์กลางทางสังคมของบุคคลออทิสติก | th_TH |
dc.title.alternative | ARCHITECTURE FOR THE ACCEPTANCE OF AUTISM IN SOCIETY THE SOCIAL CENTER OF AUTISM | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |