การบรรยาย หลักการเล่าเรื่อง (Storytelling) และการสร้างสรรค์เนื้อหา (Content Creation) เพื่อการท่องเที่ยว หลักสูตร “Storytelling and Content Creation for Smart Tourism”

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

วันที่

2565-02-12

ผู้เขียน

ชื่อวารสาร

วารสาร ISSN

ชื่อหนังสือ

สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เชิงนามธรรม

เอกสารชิ้นนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบหัวข้อ หลักการเล่าเรื่อง (Storytelling) และการสร้างสรรค์เนื้อหา (Content Creation) เพื่อการท่องเที่ยว เพื่อการเป็นวิทยากรหลักในการอบรมหลักสูตร “Storytelling and Content Creation for Smart Tourism” ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะกำลังคนของประเทศ (Reskill /Upskill /New skill) เพื่อการมีงานทำและเตรียมความพร้อมรองรับการทำงานในอนาคต โดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มทักษะทางวิชาชีพด้านการเล่าเรื่องและสร้างสรรค์เนื้อหาบนดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการท่องเที่ยวให้แก่บุคลากรภายนอก อาทิ บุคลากรในภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ผู้ว่างงาน ผู้ต้องการเปลี่ยนสายงาน และนักศึกษาที่เพิ่งสำเร็จการศึกษา จำนวน 40 คน ระหว่างวันที่ 12-26 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องเธียเตอร์ อาคาร 11 มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คำอธิบาย

Presentation Slide

คำหลัก

การเล่าเรื่อง การท่องเที่ยว, storytelling content creation smart tourism

การอ้างอิง

จรูญพร ปรปักษ์ประลัย. (2560). คู่มือนักเขียน. กรุงเทพฯ: แสงดาว. ชุติมา มณีวัฒนา. (2558). หลักการวิเคราะห์และตีความบทละคร. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. นับทอง ทองใบ. (2555). กลวิธีการเล่าเรื่องและการสร้างบุคลิกลักษณะของตัวละครในหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่น. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม.ฐณยศ โล่ห์พัฒนานนท์ และกฤษบดินทร์ วงค์คำ. (2562). สรรค์สร้างเรื่องเล่าสู่สากล: ละคร ซีรีส์ทีวีดราม่า. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.