การศึกษาการป้องกันความเสียหายของตัวประจุกรองของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่งด้วยรีแอคเตอร์

dc.contributor.authorกฤษฎา ไทยวัฒน์en_US
dc.contributor.authorนิมิต บุญภิรมย์en_US
dc.contributor.authorกษิเดช ทิพย์อมรวิวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2020-01-17T04:59:32Z
dc.date.issued2562-12
dc.description.abstractบทความนี้เป็นการนำเสนอการศึกษาการป้องกันความเสียหายของตัวประจุกรองของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่ง วัตถุประสงค์ของบทความเป็นการวิเคราะห์สาเหตุของความเสียหายของตัวประจุที่ใช้กรองแรงดันในภาควงจรเรียงกระแสของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่งในขณะที่ใช้งาน โดยการวัดค่าแรงดัน กระแสที่บัสไฟฟ้ากระแสตรง และวัดแรงดัน และกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ พบว่าเกิดกระแสกระโชกสูงที่ไหลเข้าตัวประจุขณะที่ทำการเชื่อมและหยุดเชื่อม และเกิดผลให้เกิดแรงดันตกที่บัสไฟฟ้ากระแสตรง และแรงดันที่จ่ายเข้า การแก้ปัญหาได้ติดตั้งรีแอคเตอร์ที่สายไฟฟ้ากระแสสลับจ่ายเข้าด้วยอัตราเปอร์เซ็นต์อิมพิแดนซ์เท่า 3 เปอร์เซ็นต์ จากผลการทดลองสามารถลดค่ากระแสกระโชกของตัวประจุได้ นอกจากนี้ยังสามารถลดกระแสฮาร์มอนิกของกระแสไฟฟ้ากระแสสลับที่สายจ่ายเข้าด้วยen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.identifier.citationกฤษฎา ไทยวัฒน์,นิมิต บุญภิรมย์ และกษิเดช ทิพย์อมรวิวัฒน์.(2562).การศึกษาการป้องกันความเสียหายของตัวประจุกรองของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่งด้วยรีแอคเตอร์.การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 14 (SPUCON2019).(น.2008 - 2015).กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6504
dc.language.isothen_US
dc.subjectเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่ง กระแสกระโชก ตัวประจุกรองen_US
dc.titleการศึกษาการป้องกันความเสียหายของตัวประจุกรองของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่งด้วยรีแอคเตอร์en_US
dc.title.alternativeTHE STUDY OF A DAMAGE PROTECTION OF THE FILTER CAPCITOR IN ELECTRICAL SWITCHING WELDING USING REACTORen_US
dc.typeArticleen_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
บทความ SPU conf 2562.pdf
ขนาด:
625.43 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: