ปัญหาความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ : ศึกษาการกระทำโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
dc.contributor.author | ศิริโรจน์ โรจน์วรพร | th_TH |
dc.date.accessioned | 2567-06-14T04:15:02Z | |
dc.date.available | 2024-06-14T04:15:02Z | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description.abstract | จากการที่รัฐมีแนวโน้มขยายการเปลี่ยนแปลงบทบาของรัฐ ให้เป็นรูปแบบรัฐสมัยใหม่มีลักษณะเป็นรัฐสวัสดิการ ซึ่งการกระทำ หรือการดำเนินกิจกรรมต่างๆของหน่วยงานของรัฐโดยเจ้าหน้าที่ที่เป็นตัวแทนของรัฐ ต้องใช้อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย บางครั้งการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจกระทำการกระทบซึ่งสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลคนอื่น รวมทั้ง ทางภาคเอกชนและทางภาครัฐด้วยกันเอง เป็นผลมาจากการกระทำทางปกครอง การที่จะให้เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องรับผิดเต็มจำนวนในการกระทำต่างๆ แทนรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ต้องร่วมกันรับผิดในลักษณะของลูกหนี้ร่วม โดยปรับใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์นั้น ย่อมก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ซึ่งเป็นการกระทำทางมหาชน และเพื่อประโยชน์ส่วนรวม จึงป็นที่มาของการตราพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ขึ้นใช้บังคับ | th_TH |
dc.description.sponsorship | Sripatum University | th_TH |
dc.identifier.citation | ศิริโรจน์ โรจน์วรพร. 2555. “ปัญหาความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ : ศึกษาการกระทำโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง.” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. | th_TH |
dc.identifier.uri | https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9766 | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศรีปทุม | th_TH |
dc.subject | ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง | th_TH |
dc.title | ปัญหาความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ : ศึกษาการกระทำโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง | th_TH |
dc.title.alternative | PROBLEM OF THE PUBLIC AUTHORITY’S TORT LIABILITY : CASE STUDY ON GROSS NEGLIGENT ACTION | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
ไฟล์
ชุดต้นฉบับ
1 - 5 ของ 11
มัดใบอนุญาต
1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
- ชื่อ:
- license.txt
- ขนาด:
- 1.71 KB
- รูปแบบ:
- Item-specific license agreed upon to submission
- คำอธิบาย: