การศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับครัวเรือนที่อยู่ห่างจากเขตจำหน่ายไฟฟ้าจากการใช้จริง

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

วันที่

2563

ชื่อวารสาร

วารสาร ISSN

ชื่อหนังสือ

สำนักพิมพ์

Sripatum University

เชิงนามธรรม

สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลระบบและความคุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์ของระบบผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับครัวเรือนที่อยู่ห่างเขตจำหน่ายไฟฟ้า โดยจากกรณีศึกษาข้อมูล ครัวเรือนมีผู้อยู่อาศัย 4 คน มีความต้องการใช้ไฟฟ้าวันละ 5,501 วัตต์ และได้ออกแบบติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 1.25 กิโลวัตต์ โดยติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์ชนิดโพลีคริสตัลไลน์ ขนาด 250 วัตต์ จำนวน 5 แผง อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่พิกัด 24 โวลต์ ,60 แอมป์-ชั่วโมง อินเวอร์เตอร์ขนาด 1,500 วัตต์ และแบตเตอรี่ชนิด ดีฟไซเคิล (Deep Cycle) ขนาด 125 แอมป์-ชั่วโมง จำนวน 6 ลูก ต่อแบบอนุกรม 2 ลูก จำนวน 3 ชุด

คำอธิบาย

ตารางและรูปภาพประกอบ

คำหลัก

การศึกษาความคุ้มค่า, ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์, อยู่ห่างเขตไฟฟ้า

การอ้างอิง

รัตนา สังข์เจริญ. 2559. "การศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับครัวเรือนที่อยู่ห่างจากเขตจำหน่ายไฟฟ้าจากการใช้จริง." สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.