การตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย : ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดน่าน
dc.contributor.author | ปราญชลี เมืองมูล | th_TH |
dc.date.accessioned | 2565-11-01T08:16:28Z | |
dc.date.available | 2022-11-01T08:16:28Z | |
dc.date.issued | 2565 | |
dc.description | ตารางและรูปภาพประกอบ | |
dc.description.abstract | สถาปัตยกรรมเดิมที่มีความงามเฉพาะและสถาปัตยกรรมรูปแบบใหม่ที่มีความทันสมัยเพื่อให้มีสถาปัตยกรรมที่อยู่ร่วมกันได้ จึงได้รวมสองประเด็นที่นำมาซึ่งห้วข้อการตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย ศึกษาสถาปัตยกรรมของชาวไทลื้อ ทั้งรูปทรง การจัดผัง การใช้งานและวัสดุของอาคาร จึงเกิดแนวความคิดกับคำว่า "ยืดหยุ่น" ของงานสถาปัตยกรรมไทลื้อที่มีการปรับเปลี่ยนได้ ทั้งการสร้าง การใช้งานอาคาร และวัสดุที่ใช้ในการสร้าง โดยนำมาถ่ายทอดในการออกแบบสถาปัตยกรรมแบบใหม่ | th_TH |
dc.description.sponsorship | Sripatum University | th_TH |
dc.identifier.citation | ปราญชลี เมืองมูล. 2564. "การตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย : ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดน่าน." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. | th_TH |
dc.identifier.uri | https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8561 | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศรีปทุม | th_TH |
dc.subject | ไทลื้อ | th_TH |
dc.subject | เรือนไทลื้อ | th_TH |
dc.subject | วัสดุพื้นถิ่น | th_TH |
dc.title | การตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย : ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดน่าน | th_TH |
dc.title.alternative | A CONTEMPORARY INTERPRETATION OF TAI LUE ARCHITECTURE TAI LUE CULTURAL LEARNING CENTER | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |