การประยุกต์ใช้การสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นสาหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ

dc.contributor.authorเติมพงษ์ ศรีเทศen_US
dc.contributor.authorคทา จารุวงษ์รังสีen_US
dc.contributor.authorเพชร นันทิวัฒนาen_US
dc.contributor.authorณรงค์ อยู่ถนอมen_US
dc.contributor.authorปรีชา กอเจริญen_US
dc.date.accessioned2019-04-04T08:35:46Z
dc.date.available2019-04-04T08:35:46Z
dc.date.issued2561-11-22
dc.description.abstractบทความนี้กล่าวถึงการนา เทคโนโลยีการสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็น เพื่อประยุกต์ใช้ในการนาเสนอข้อมูลงานศิลปะในพื้นที่จัดแสดงของ พิพิธภัณฑ์ ซึ่งเป็นการนา การสื่อสารมาใช้ในลักษณะเป็นฟังก์ชันเสริม ของการส่องสว่างปกติที่ใช้ส่องสว่างงานศิลปะ ระบบจะประกอบด้วย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ฝังตัวเข้ากับโคมไฟที่ใช้ส่องสว่างภาพเขียนหรือ งานศิลปะ ซึ่งจะทา หน้าที่เข้ารหัสเฉพาะของโคมไฟที่มีค่าแตกต่างกัน โดยแสงสว่างที่ฉายมีค่าการส่องสว่างเหมือนกันในทุกๆโคมไม่สามารถ แยกได้ว่าโคมไฟที่ส่องสว่างมามีข้อมูลส่งมาหรือไม่ หรือมีข้อมูล แตกต่างกันอย่างไร และส่วนวงจรรับจะมีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถ ถอดรหัสข้อมูลการสื่อสารที่แฝงมากับแสงสว่าง เชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟน เพื่อนารหัสเฉพาะที่ไดไ้ ปประมวลผล จากนั้นจึงแสดงขอ้ มูลงานศิลปะ บนสมาร์ทโฟนในรูปแบบของข้อความ รูปภาพ เสียง หรือวิดีทัศน์ได้en_US
dc.identifier.citationการประยุกต์ใช้การสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นสาหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ ๔๑, หน้า 69-72en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6171
dc.language.isothen_US
dc.subjectการสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นen_US
dc.subjectพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะen_US
dc.subjectสมองกลฝัง ตัวen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้การสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นสาหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะen_US
dc.typeArticleen_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
การประยุกต์ใช้การสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นสาหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ.pdf
ขนาด:
875.52 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: