สถาปัตยกรรมยั่งยืนกับวัสดุพื้นถิ่น : รีสอร์ต ปกาเกอะญอ
dc.contributor.author | อำพร เกษตรนพกุล | th_TH |
dc.date.accessioned | 2565-10-26T08:25:55Z | |
dc.date.available | 2022-10-26T08:25:55Z | |
dc.date.issued | 2565 | |
dc.description | เป็นวิทยานิพนธ์ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ผู้ทำวิจัยศึกษาสถาปัตยกรรมยั่งยืนกับวัสดุพื้นถิ่น : รีสอร์ต ปกาเกอะญอ | th_TH |
dc.description.abstract | วัสดุพื้นถิ่น พื้นที่ตั้ง ภูมิปัญญาเชิงช่าง ทั้ง 3 อย่างนี้จะนำไปประยุคใช้ในงานสถาปัตยกรรมได้อย่างไร จากการวิเคราะห์ที่ได้พื้นที่แต่ละที่มีความแตกต่างกันอย่างเช่น สงขลา เป็นกลุ่มคนที่อยู่ไม่ติดที่ สกลนคร เป็นแหล่งอุตสาหกรรมนาเกลือ ลำปาง เป็นกลุ่มคนอยู่ติดที่ ทำให้วัสดุที่นำมาใช้แตกต่างกัน สงขลา ทำจากวัสดุย่อยสลายได้ง่ายจำพวกใบตอง ใบไม้ สกลนคร ทำจากไม้จริงและดิน ในระแวกนั้นเพื่อความคงทน ลำปาง ทำจากวัสดุที่ทนแดดทนฝนอย่างไม่จริงกับไม้ไผ่ที่มีระยะเวลาการใช้งานที่นาน รวมถึงภูมิปัญญาเชิงช่างที่ต่างกัน สงขลา ใช้การวางใบไม้เป็นหลังคาแบบง่าย ๆ เพื่อกันแดดฝน สกลนคร ใช้การสารของไม้ไผ่และทาเครือบผนังด้วยดินเหนียวเพื่อกันกรดเกลือ ลำปาง ใช้ไม้จริงเป็นโครงสร้างหลัก ใช้ไม้ไผ่ขัดกันป็นฝากฝาไม้เพื่อทำเป็นผนังและพื้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | Sripatum University | th_TH |
dc.identifier.citation | อำพร เกษตรนพกุล. 2563. "สถาปัตยกรรมยั่งยืนกับวัสดุพื้นถิ่น : รีสอร์ต ปกาเกอะญอ." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. | th_TH |
dc.identifier.uri | https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8529 | |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | Sripatum University | th_TH |
dc.relation.ispartofseries | SPU_2563 | th_TH |
dc.subject | ความยั่งยืน | th_TH |
dc.subject | สถาปัตยกรรมยั่งยืน | th_TH |
dc.subject | วัสดุพื้นถิ่น | th_TH |
dc.subject | สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น | th_TH |
dc.title | สถาปัตยกรรมยั่งยืนกับวัสดุพื้นถิ่น : รีสอร์ต ปกาเกอะญอ | th_TH |
dc.title.alternative | SUSTAINABLE ARCHITURE AND VERNACULAR MATERIALS : PGA K’NYAU RESORT | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |