การประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการคัดเลือกผู้รับเหมาย่อย : กรณีศึกษาผู้รับเหมางานตอกเสาเข็ม

dc.contributor.authorไพจิตร ผาวันth_TH
dc.date.accessioned2565-05-05T16:41:42Z
dc.date.available2022-05-05T16:41:42Z
dc.date.issued2564-10-28
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจำลองการคัดเลือกผู้รับเหมาย่อย ด้วยวิธีกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น งานวิจัยเริ่มจากการเก็บรวบรวมปัจจัยที่มีผลต่อการคัดเลือกผู้รับเหมาย่อย (งานเสาเข็ม) จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 ท่าน ให้คะแนนเปรียบเทียบเป็นรายคู่ของปัจจัยด้านเทคนิคประกอบด้วยปัจจัยหลักทั้งหมด 5 ปัจจัย จากการให้คะแนนของผู้เชี่ยวชาญพบว่า ปัจจัยด้านการเงิน 22.2% ด้านประสบการณ์และผลงานในรอบ 5 ปี 9.8% ด้านบุคลากร 22.5% ด้านเครื่องจักร-อุปกรณ์ 20.8% และด้านการวางแผนงานและบริหารงาน 24.7% จากการศึกษานี้ ได้นำไปใช้กับโครงการ (งานเสาเข็ม) โดยมีผู้รับเหมางานเสาเข็ม ทั้งหมด 5 บริษัท เสนอคุณสมบัติเบื้องต้น และราคาประมูล พบว่าคะแนนด้านเทคนิคและราคาเสนอ บริษัท PA มีคะแนนเป็นอันดับ 1 คือ 61.29% ดังนั้นทางโครงการฯ จึงเลือกบริษัท PA เป็นผู้ได้รับการคัดเลือก แสดงให้เห็นว่าแบบจำลองมีความยืดหยุ่น และสามารถนำไปใช้ในการคัดเลือกผู้รับเหมาย่อยประเภทอื่น ๆ ได้th_TH
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8237
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุม (SPUCON2021)th_TH
dc.subjectกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นth_TH
dc.subjectการตัดสินใจเลือกth_TH
dc.subjectผู้รับเหมาย่อยth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการคัดเลือกผู้รับเหมาย่อย : กรณีศึกษาผู้รับเหมางานตอกเสาเข็มth_TH
dc.typeArticleth_TH

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
บทความ 2 ไพจิตร ผาวัน ภาควิชาวิศวกรรมโยธา.docx
ขนาด:
146.62 KB
รูปแบบ:
Unknown data format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: