Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเอกสิทธิ์ ฤทธิ์วีระเดชen_US
dc.date.accessioned2019-03-12T07:35:35Z-
dc.date.available2019-03-12T07:35:35Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.citationเอกสิทธิ์ ฤทธิ์วีระเดช. 2561. "การนำทรัพย์สินมีรูปร่างและทรัพย์สินไม่มีรูปร่างมาเป็นหลักประกันทางธุรกิจ ศึกษากรณี : สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์." วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6144-
dc.descriptionเอกสิทธิ์ ฤทธิ์วีระเดช. การนำทรัพย์สินมีรูปร่างและทรัพย์สินไม่มีรูปร่างมาเป็นหลักประกันทางธุรกิจ ศึกษากรณี : สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์. วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2561.en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง “การนำทรัพย์สินมีรูปร่างและทรัพย์ไม่มีรูปร่างมาเป็นหลักประกันทางธุรกิจ ศึกษากรณี : สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์” เป็นการศึกษาการนำทรัพย์ไม่มีรูปร่างและทรัพย์มีรูปร่าง คือ สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และไม้ยืนต้นมาเป็นหลักประกันทางธุรกิจตามพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 โดยเปรียบเทียบกับหลักประกันแบบลอยของประเทศอังกฤษและการประกันหนี้ด้วยทรัพย์ตามประมวลกฎหมายว่าด้วยเอกรูปว่าด้วยการพาณิชย์ของสหรัฐอเมริกาที่มิได้กำหนดประเภททรัพย์สินแตกต่างจากประเทศไทยที่กำหนดประเภททรัพย์สินไว้ ซึ่งสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่นำมาเป็นหลักประกันที่เป็นสิทธิชุมชนอันมิใช่สิทธิเด็ดขาดของบุคคลหนึ่งและสิทธิในการใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาตร์ที่ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขจึงต้องพิจารณาถึงเงื่อนไขในกฎหมายหลักประกันทางธุรกิจว่าต้องเป็นของวิสาหกิจชุมชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจ พ.ศ. 2548 หรือบริษัทนั้นที่มีสิทธิใช้เท่านั้นหรือมีคณะกรรมการสิทธิชุมชนตามร่างพระราชบัญญัติสิทธิชุมชน พ.ศ. .... เพื่อทำการกำหนดพื้นที่ในการใช้ให้สอดคล้องกับชุมชนที่นำมาเป็นหลักประกันและไม้ยืนต้นที่นำมาเป็นหลักประกันควรมีเงื่อนไขเกี่ยวกับความเสี่ยงที่เกิดจากภัยพิบัติและโรคภัยที่เกิดจากธรรมชาติในกฎกระทรวงเพื่อลดความเสียหาย จึงต้องมีการแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายกำหนดเงื่อนไขในการนำสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญาและไม้ยืนต้นมาเป็นหลักประกันทางธุรกิจ อีกทั้งปัญหาเรื่องประเภทของผู้รับหลักประกันที่ถูกกำหนดไว้เพียงธุรกิจบางประเภท การกำหนดรายละเอียดในเรื่องการประเมินมูลค่า และการบังคับหลักประกันที่ให้อำนาจผู้รับหลักประกันและผู้บังคับหลักประกันโดยไม่มีการกำหนดวิธีการบังคับหลักประกัน จึงควรมีการแก้ไขให้มีธุรกิจที่มีประสิทธิภาพเข้ามาเป็นผู้รับหลักประกัน กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติผู้ประเมินมูลค่าและวิธีการประเมินมูลค่า และกำหนดการบังคับหลักประกันที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่ายen_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_เอกสิทธิ์ ฤทธิ์วีระเดช_T182790en_US
dc.subjectทรัพย์สินมีรูปร่างen_US
dc.subjectสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectทรัพย์สินไม่มีรูปร่างen_US
dc.subjectหลักประกันทางธุรกิจen_US
dc.titleการนำทรัพย์สินมีรูปร่างและทรัพย์สินไม่มีรูปร่างมาเป็นหลักประกันทางธุรกิจ ศึกษากรณี : สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์en_US
dc.title.alternativeBRINGING TANGIBLE PROPERTIES AND INTANGIBLE PROPERTIES TO BE BUSINESS SECURITY, CASE STUDY : GEOGRAPHICAL INDICATION.en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:LAW-09. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.