Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6630
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุพพัต อิสราศิวกุลth_TH
dc.date.accessioned2020-03-29T10:59:01Z-
dc.date.available2020-03-29T10:59:01Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationสุพพัต อิสราศิวกุล. 2562. "การพัฒนาสมรรถนะของพนักงานขับรถขนส่ง ตามหลัก 7R กรณีศึกษา: กลุ่มธุรกิจขนส่งสินค้า." การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.th_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6630-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.th_TH
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเล่มนี้เกิดจากการหาแนวทางการแก้ไขปัญหาการปัญหาได้รับข้อร้องเรียนจากลูกค้าอันเนื่องจากการตรวจเช็ครับงานผิดพลาดทั้งงานรับงานมาไม่ครบ การปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย งานเสียหาย อุบัติเหตุในการทำงาน และการขับรถ รวมไปถึงเรื่องการส่งมอบผลิตภัณฑ์ไม่ตรงตามเวลาที่ลูกค้ากำหนด มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อศึกษาและประเมินระดับความสามารถของพนักงานขับรถขนส่งใน Fleet บริษัท ABC จำกัด จัดกลุ่มระดับความยากง่ายในการทำงานของแต่ละ Customer ของลูกค้า และเพื่อจัดพนักงานขับรถขนส่งสินค้าให้ได้ทำงานกับ Customer ที่ถูกจัดกลุ่มไว้แล้ว ตามระดับความสามารถ โดยผู้วิจัยได้เลือกวิธีการประเมินระดับความสามารถของพนักงานขับรถขนส่งตามหลักการของ 7R Logistic เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการเลือกงานที่เหมาะสมกับระดับความสามารถนั้น โดยในส่วนของงานแต่ละ Customer นั้นจะใช้วิธีการประเมินจัดกลุ่มระดับความยากง่ายของแต่ละงาน เพื่อทำการจัดกลุ่มระหว่างของความสามารถของพนักงานขับรถขนส่งกับระดับความยากง่ายของงาน ด้วยวิธีการจัดลำดับ (Ranking) ซึ่งจากการศึกษาจัดกลุ่มและได้นำผลจากการจัดกลุ่มไปใช้จริง โดยได้จัดพนักงานขับรถขนส่งอยู่ในลำดับต่างๆ ไปปฏิบัติงานกับลูกค้าตามกลุ่มที่จัดเอาไว้ ผลที่ได้รับพบว่า ในปี 2562 มีข้อร้องเรียกจากลูกค้าลดน้อยลงจากเดิม 4 เดือน (มกราคม – เมษายน) 81 เคส หรือโดยเฉลี่ยเดือนละ 20 เคส โดยหลังปรับปรุงในเดือนกรกฎาคม 2562 เหลือเพียง 3 เคส เมื่อเทียบกับเดือนเมษายน 2562 ซึ่งเป็นเดือนล่าสุดที่เก็บข้อมูลพบว่าโดยเฉลี่ยแล้วทั้งหมด 7 ลูกค้าลดลงร้อยละ 83 และเมื่อเทียบจากค่าเฉลี่ยใบเคลมของทั้ง 4 เดือนที่เก็บข้อมูล (มกราคม – เมษายน) ของลูกค้าทั้ง 7 ราย ลดลงร้อยละ 85th_TH
dc.description.sponsorshipหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.relation.ispartofseriesSPU_สุพพัต อิสราศิวกุล_T185852_2561th_TH
dc.subjectพฤติกรรมth_TH
dc.subjectส่งมอบผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectระดับความยากง่ายของงานth_TH
dc.subjectระดับความสามารถของพนักงานth_TH
dc.titleการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานขับรถขนส่ง ตามหลัก 7R กรณีศึกษา: กลุ่มธุรกิจขนส่งสินค้าth_TH
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF TRANSPORT DRIVERS ABILITY ACCORDING TO THE 7R PRINCIPLE: A CASE STUDY OF A TRANSPORTATION BUSINESS.th_TH
dc.typeOtherth_TH
Appears in Collections:CLS-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.