กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8623
ชื่อเรื่อง: ปัญหาการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรเคมีในประเทศไทย
ชื่อเรื่องอื่นๆ: THE PROBLEM OF LICENSING OF CHEMICAL ENGINEERING PROFESSION IN THAILAND
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: พิชญ์สา พงษ์ทองพูล
คำสำคัญ: การขอรับใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรเคมี
ประเทศไทย
วันที่เผยแพร่: 2565
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
แหล่งอ้างอิง: พิชญ์สา พงษ์ทองพูล. 2559. “ปัญหาการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรเคมีในประเทศไทย.” สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
บทคัดย่อ: อาชีพวิศวกรเคมี มีความสำคัญในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่โดยเฉพาะ โรงงานอุตสาหกรรมด้านปิโตรเลียม ปิโตเคมี การกลั่นน้ำมัน รวมทั้งอุตสาหกรรมกระดาษ หรือการผลิตสารเคมีต่างๆ อุตสาหกรรมเคมีของประเทศไทยมีผู้ประกอบการเป็นจำนวนมากและมีความหลากหลายของประเภทผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเคมีจึงเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้และต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิตค่อนข้างสูง เนื่องจากวัตถุดิบเคมีมีโครงสร้างทางเคมีที่ซับซ้อน จึงต้องการผู้ที่ประกอบวิชาชีพที่มีความรู้และเชี่ยวชาญหากขาดคุณสมบัติอาจส่งผลต่อกับประเทศร้ายแรงและรวดเร็ว รัฐจึงมอบอำนาจให้ “สภาวิศวกร” เป็นหน่วยงานออกกฎหมายเพื่อควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรทุกสาขาในประเทศไทย ซึ่งภาครัฐได้ส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าด้านวิชาชีพและด้วยความจำเป็นที่ประเทศไทยต้องเปิดเสรีด้านการค้า การบริการ ซึ่งส่วนที่เกี่ยวข้องด้านวิศวกรยังมีข้อตกลงวิศวกรวิชาชีพอาเซียน ACPE (ASEAN Chartered Professional Engineer) จะต้องมีมาตรฐานทางวิชาชีพ เพื่อการแข่งขันในการเปิดเสรีการค้ากับต่างประเทศ
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8623
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:LAW-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
ปกใน.pdf341.85 kBAdobe PDFดู/เปิด
บทคัดย่อ.pdf201.56 kBAdobe PDFดู/เปิด
สารบัญ.pdf65.64 kBAdobe PDFดู/เปิด
บทที่ 1.pdf670.83 kBAdobe PDFดู/เปิด
บทที่ 2.pdf2.15 MBAdobe PDFดู/เปิด
บทที่ 3.pdf3.11 MBAdobe PDFดู/เปิด
บทที่ 4.pdf1.45 MBAdobe PDFดู/เปิด
บทที่ 5.pdf498.25 kBAdobe PDFดู/เปิด
บรรณานุกรม.pdf182.42 kBAdobe PDFดู/เปิด
ประวัติผู้วิจัย.pdf28.95 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น