กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8982
ชื่อเรื่อง: พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมและความกลัวตกกระแสกับการแชร์ข่าวปลอมบนสื่อสังคมของวัยรุ่น
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ผู้ช่วยศาสตรจารย์ วรรณี งามขจรกุลกิจ
คำสำคัญ: ข่าวปลอม, สื่อสังคม, ความกลัวตกกระแส
Fake news, Social media, Fear of Missing Out (FOMO)
วันที่เผยแพร่: 27-ตุลาคม-2022
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
แหล่งอ้างอิง: วรรณี งามขจรกุลกิจ. (2565). "พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมและความกลัวตกกระแสกับการแชร์ข่าวปลอมบนสื่อสังคมของวัยรุ่น" ในหนังสือประมวลบทความการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 17 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ออนไลน์ เรื่อง วิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน.พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม, หน้า 1914-1922.
บทคัดย่อ: การศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมและความกลัวตกกระแสกับการแชร์ข่าวปลอมบนสื่อสังคมของวัยรุ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความกลัวตกกระแสของกลุ่มวัยรุ่นกับการแชร์ข่าวปลอมบนสื่อสังคม และเสนอแนะแนวทางในการ บ่มเพาะกลุ่มวัยรุ่นเพื่อการเรียนรู้พิจารณาข่าวปลอมบนสื่อสังคมและการใช้สื่อสังคม ซึ่งจากผลการศึกษาบทความวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจำนวนหลายเรื่องทำให้พบว่าปัจจัยที่เป็นสาเหตุหนึ่งของการแชร์ข่าวปลอมหรือข่าวลวงบนสื่อสังคมมาจากความกลัวตกกระแสที่เป็นอาการตาม FOMO(Fear of Missing Out) ยิ่งวัยรุ่นใช้สื่อสังคมมากขึ้นเท่าไรยิ่งเป็นที่มาของอาการ FOMO ที่สัมพันธ์กับการแชร์ข่าวปลอมที่ขาดการกลั่นกรองความจริงของข่าวสารเหล่านั้น This study on the behavior in the usage of social media, the Fear of Missing Out, and the Sharing of Fake News on social media among Adolescents aims to study the relationship between the phenomenon of the Fear of Missing Out (FOMO) among adolescents and the sharing of fake news on social media. The study will also recommend guidelines to inculcate adolescents in ways to detect fake news on social media and the usage ofsocial media. The study found that the main reason behind the sharing of fake news on social media stemmed from FOMO. The more adolescents use social media, the more severe the effect of FOMO, which, in turn, is connected to the sharing of fake news.
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8982
ISBN: 978-974-655-469-5
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:CMU-01. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับนานาชาติ)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
บทความวิชาการ-SPUCON2022 ผศ.วรรณี งามขจรกุลกิจ.pdf289.48 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น