Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกฤษญา นิธิโสภาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-16T03:51:33Z-
dc.date.available2024-03-16T03:51:33Z-
dc.date.issued2567-
dc.identifier.citationกฤษญา นิธิโสภา. 2555. “ปัญหาการประกอบธุรกิจในประเทศไทยของคนต่างด้าว ศึกษากรณีนอมินี (Nominee) หรือตัวแทนอำพราง.” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฏหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.th_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9625-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งศึกษาปัญหาการประกอบธุรกิจในประเทศไทยของคนต่างด้าว โดยมุ่งศึกษาถึงกรณีนอมินี (Nominee) หรือตัวแทนอำพราง เนื่องจากประเทศไทยมีกฏหมายที่ใช้ควบคุมการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว คือ พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 โดยกฏหมายฉบับนี้ได้กำหนดสิทธิของคนไทยและคนต่างด้าวในการประกอบธุรกิจไว้แตกต่างกัน วิธีในการพิจารณาสัญชาติของนิติบุคคลจึงเป็นประเด็นสำคัญอย่างยิ่งในการบังคับใช้กฏหมายในทางปฎิบัติ ดังนั้น คนต่างด้าวจึงนิยมใช้วิธีการให้คนไทยถือหุ้นแทนคนต่างด้าว (Nominee) หรือตัวแทนอำพราง การที่กฏหมายควบคุมการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวโดยกำหนดเพียงหลักเกณฑ์เดียว คือ การกำหนดสัดส่วนการถือหุ้นของคนต่างด้าวเท่านั้น โดยไม่ครอบคลุมถึงการที่คนต่างด้าวมีอำนาจบริหารจัดการและควบคุมกิจการด้วย ทำให้คนต่างด้าวใช้ช่องว่างของกฏหมายทำให้สามารถประกอบธุรกิจได้ทุกประเภทโดยไม่ต้องขออนุญาตดังเช่นที่คนไทยสามารถทำได้ทุกประการth_TH
dc.description.sponsorshipSripatum Universityth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.subjectปัญหาการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวth_TH
dc.subjectนอมินีth_TH
dc.subjectตัวแทนอำพรางth_TH
dc.titleปัญหาการประกอบธุรกิจในประเทศไทยของคนต่างด้าว ศึกษากรณีนอมินี (Nominee) หรือตัวแทนอำพรางth_TH
dc.title.alternativePROBLEMS OF FOREIGNER DOING BUSINESS IN THAILAND THE CASE STUDY OF NOMINEE OR DISSIMULATED AGENTth_TH
dc.typeThesisth_TH
Appears in Collections:LAW-09. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.