GEN-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู GEN-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ) โดย ผู้เขียน "ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 20 ของ 39
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ กระบวนทัศน์ความคิดสันติภาพในพระไตรปิฏก(2555-08-08T08:25:24Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลรายการ กระบวนทัศน์ความคิดสันติภาพในพระไตรปิฏก(2555-04-29T04:59:19Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลปัจจุบันเป็นที่ทราบกันแล้วว่า ความขัดแย้งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมที่เกือบจะเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิตในสังคม ทั้งในส่วนที่เป็นชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และที่ทำงาน สิ่งเหล่านี้ใช่ว่าจะเป็นสิ่งดีที่มนุษย์ถวิลหา แต่ก็เป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่สามารถจะปฏิเสธและหลีกเลี่ยงได้ แล้วหลักการที่แท้จริงในทางศาสนาและหลักปรัชญาที่ปรากฏตามหลักคำสอนของนักการศาสนาและนักปรัชญาที่ว่าด้วยความสันติแห่งมนุษยชาติหายไปไหน หรือว่าหลักการทางศาสนาดังกล่าวนี้เป็นเพียงภาพสะท้อนความสันติที่มีเฉพาะตัวหนังสือในคัมภีร์เท่านั้น หาเป็นสิ่งที่สามารถนำมาเป็นยุทธศาสตร์ในการบริหารความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทางสังคมได้ไม่รายการ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์(2555-04-29T05:13:50Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลชีวิตคนเรามีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่ ๒ อย่างคือร่างกายและจิตใจหรือที่ทางพุทธศาสนาเรียกอย่างสั้นๆ ว่า รูปกับนาม ขณะที่แนวคิดทางปรัชญาโดยเฉพาะปรัชญาตะวันตกก็ให้ความสำคัญถึงกับมีการศึกษาเรื่องสสารหรือที่รู้จักกันในชื่อของรูป และอสารคือส่วนของจิตซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการคิด ซึ่งองค์ประกอบทั้ง ๒ นี้ นับว่ามีความสำคัญเพราะเมื่อต่างอาศัยกันและกันอย่างเหมาะสมแล้วก็จะทำให้เป็นชีวิตที่ดีได้และการเอาใจใสต่อสภาวะทางจิตใจนั้น ต้องถือว่ามีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตเป็นอย่างมาก เพราะจิตที่ทำหน้าที่ด้านความคิดมีความละเอียดอ่อนในระนาบที่รู้เห็นได้ยาก มีความละเอียด ลึกซึ้งอย่างยิ่งรายการ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์(2555-08-08T09:11:42Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลรายการ การศึกษาทั่วไป เพื่อการสร้างสรรค์ความเป็นไทยในศตวรรษที่ ๒๑ :(2555-04-29T04:56:08Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลการสร้างทักษะความคิด ตามแนวพุทธธรรมด้วยกระบวนทัศน์แบบโยนิโสมนสิการ ตั้งอยู่บนฐานของความจริงที่ว่าสภาวะจิตใจของมนุษย์ มีส่วนสัมพันธ์ต่อการแสดงออกด้านพฤติกรรมมนุษย์ทั้งในด้านกายกรรม วจีกรรมและมโนกรรม หมายความว่าหากจิตใจมีการอบรม ฝึกฝนและสร้างทักษะให้เกิดวิธีคิดอย่างถูกต้องดีแล้วก็จะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้เกิดดุลยภาพของพฤติกรรมนั้นได้ ตามนัยพุทธธรรมเรียกว่ากระบวนการนี้ว่าวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ คือการคิดไตร่ตรองอย่างแยบคาย การคิดเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ มี ๑๐ ขั้น ผู้ฝึกฝนอบรมความคิดด้วยวิธีนี้อย่างครบถ้วน สามารถพัฒนาตนไปสู่ความเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุขได้จัดเป็นกระบวนการขัดเกลาทางพุทธศาสนาเรียกว่าไตรสิกขา คือสีลสิกขา ศึกษาให้เป็นคนดี สมาธิสิกขา ศึกษาให้มีความสุข จิตใจมั่นคง เบิกบานและปัญญาสิกขา ศึกษาให้เป็นคนเก่ง มีความเชี่ยวชาญ มีสติปัญญา มีความคิดถูกต้องดีงาม หากพิจารณาตามหลักสัมพันธภาพแล้ว วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ มีความสัมพันธ์กับกระบวนการที่เรียกว่าไตรสิกขาและอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ ซึ่งอำนวยผลคือจะทำให้เป็นคนคิดกว้าง มองไกล ใฝ่สูง(หมายถึงใฝ่คุณธรรม) เป็นกระบวนการที่สอดคล้องเกี่ยวเนื่อง ถักทอ และเชื่อมต่อกันตลอดสาย Thinking Skill formation on the Buddhadhamma with the Yonisomanasikara process is based on the facts that Human mind had relations with human behavior in the bodily, verbal and mental states. That is to say, If our mind is trained or practiced to bring about the thinking method in the right way, it will be an important factor to cultivate that behavior balance. According to Buddhamahamma’s definition, 10 steps of process is called Yonisomanasikara critical reflection, critical thinking, analytical reflection, if a person practiced or trained with method, he could develop himself to be a good, excellent and happy person. In the other word, Buddhist process is called Trisikkha or the threefold training, namely : Silasikkha-training in morality, Samadhisikkha-training in cheerfulness, happiness and Panyasikkha-training in wisdom, will be professional or correct thinking. If we consider on relationship theory, Yonisomanasikara will have interaction with Trisikkha process and the Noble Eight Fold Pathsรายการ การศึกษาสร้างคน คนสร้างชาติ(2555-04-29T04:48:33Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลการศึกษาคือปัจจัยกำลังอำนาจที่สำคัญที่สุดของชาติ เพราะการศึกษาช่วยพัฒนาคน และคนพัฒนาชาติ ทุกคนในสังคมไทยควรมีบทบาทและหน้าที่ในการช่วยกันติดอาวุธการศึกษาให้กับคนในชาติ เพื่อที่ประเทศของเราจะได้พัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ข้อนี้หากพิจารณาความหมายของการศึกษาตามพจนานุกรม ที่ให้ไว้ว่า หมายถึงการเล่าเรียน การฝึกฝน และการอบรมเพื่อให้เกิดความรู้(๑) แล้วก็จะเห็นได้ว่าการศึกษาของคนในชาติเป็นสิ่งจำเป็นประการแรก เพราะเงื่อนไขสำคัญของการพัฒนาด้านต่างๆ ในยุคใหม่จะดูที่ความรู้ ดังที่กล่าวว่า “ความรู้คืออำนาจ”(๒) เป็นความรู้คืออำนาจที่อยู่ในระนาบของความรู้ทำให้คนมีอำนาจ มารยาททำให้คนมีเสน่ห์ ที่หมายถึงของการได้รับการศึกษาอบรมและพัฒนาทางการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ(๓) มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ครูอาจารย์และการนำไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอน ที่มีเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตที่สามารถช่วยให้เกิดผลต่อการพัฒนาชาติได้ แต่เท่าที่ผ่านมาการศึกษาของไทยยังไม่ได้มีสัมฤทธิผลมากนัก เพราะการศึกษาไม่ได้ส่งเสริมให้คนรู้อย่างเป็นระบบเท่าที่ควร และในขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดความแบ่งแยก เป็นความแบ่งแยกที่หลากหลายรายการ การศึกษาสร้างคน คนสร้างชาติ(2555-08-08T08:09:31Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลรายการ การเมืองใหม่ กับ 77 ปี ประชาธิปไตยไทย ที่เดิม(หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก, 2552-06-19) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลการรเมืองใหม่ กับ 77 ปี ประชาธิปไตยไทยที่เดิมรายการ การเมืองไม่ใช่ "อวิชชาธิปไตยและไสยศาสตร์"(หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก, 2552-03-31) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลรายการ “จำเลยรัก” บทเรียนรักแท้ที่มากับความบังเอิญ(2555-08-08T08:01:48Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลรายการ “จำเลยรัก” บทเรียนรักแท้ที่มากับความบังเอิญ(2555-04-29T04:32:31Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลเจื้อยแจ้วแว่วเสียงสำเนียงหวานๆของ “พั้นช์-วรกาญจน์ โรจนวัชร” ในละครสุดฮอต “จำเลยรัก” ที่พร่ำคร่ำครวญไว้ว่า “เจ็บแค้นเคืองโกรธโทษฉันไย ฉันทำอะไรให้เธอเคืองขุ่นปรักปรำฉันเป็นจำเลยของคุณ นี่หรือพ่อนักบุญ แท้จริงคุณคือคนป่า ไม่ขอคุกเข่าเฝ้าง้องอน แม้ใจขาดรอนขอตายดีกว่า ไม่ขอร้องใครให้กรุณา ไม่ขอเศร้าโศกาหรือบีบน้ำตาอ้อนวอนใครๆ เชิญคุณลงทัณฑ์บัญชา จนสมอุราจนสาแก่ใจ ไม่มีวันที่ฉันจะร้องไห้ร่ำไร เพราะฉันมิใช่หญิงเจ้าน้ำตา กักขังฉันเถิดกักขังไป ขังตัวอย่าขังหัวใจดีกว่า อย่าขังหัวใจให้ทรมาน ให้ฉันเศร้าโศกาเหมือนว่าฉันเป็นเช่นดังจำเลย”รายการ ฐานความคิดสร้างสรรค์กับการปฏิรูปวัฒนธรรม ในโลกใหม่(2555-08-08T09:18:33Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลวัฒนธรรม เป็นรากเง่าที่บ่งบอกถึงความเป็นมาและเป็นไปของความเจริญและความเป็นมนุษย์ นับได้ว่าวัฒนธรรมเป็นมรดกและหลักฐานชิ้นสำคัญ ที่จะเล่าถึงเรื่องราวของความเป็นมาแต่ละยุคสมัย รวมไปถึงพัฒนาการของมนุษย์ในด้านเทคโนโลยี ศิลปะวิทยาการ ปรัชญา ความเชื่อ ทัศนคติและค่านิยมในสังคม นอกจากนี้แล้ววัฒนธรรมยังเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ในรูปของการคิดค้นนวัตถกรรมและวิธีการที่ใหม่ๆ ที่ดีขึ้นๆ ในการทำสิ่งต่างๆ โดยเฉพาะสังคมไทยที่มีลักษณะของการทับซ้อนของความเจริญหลายๆ ยุค ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งล้วนต้องอาศัยความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นอย่างมาก เพราะความคิดสร้างสรรค์มีผลต่อทิศทางและวิธีการในการปฏิรูปวัฒนธรรมในโลกใหม่ที่มีความรุนแรงและรวดเร็วทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและเทคโนโลยีสารสนเทศรายการ ฐานความคิดสร้างสรรค์กับการปฏิรูปวัฒนธรรม ในโลกใหม่(2555-04-30T02:19:12Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลวัฒนธรรม เป็นรากเง่าที่บ่งบอกถึงความเป็นมาและเป็นไปของความเจริญและความเป็นมนุษย์ นับได้ว่าวัฒนธรรมเป็นมรดกและหลักฐานชิ้นสำคัญ ที่จะเล่าถึงเรื่องราวของความเป็นมาแต่ละยุคสมัย รวมไปถึงพัฒนาการของมนุษย์ในด้านเทคโนโลยี ศิลปะวิทยาการ ปรัชญา ความเชื่อ ทัศนคติและค่านิยมในสังคม นอกจากนี้แล้ววัฒนธรรมยังเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ในรูปของการคิดค้นนวัตถกรรมและวิธีการที่ใหม่ๆ ที่ดีขึ้นๆ ในการทำสิ่งต่างๆ โดยเฉพาะสังคมไทยที่มีลักษณะของการทับซ้อนของความเจริญหลายๆ ยุค ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งล้วนต้องอาศัยความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นอย่างมาก เพราะความคิดสร้างสรรค์มีผลต่อทิศทางและวิธีการในการปฏิรูปวัฒนธรรมในโลกใหม่ที่มีความรุนแรงและรวดเร็วทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและเทคโนโลยีสารสนเทศรายการ ฐานคิดเชิงปรัชญาศาสนาแนวลัทธิเสรีนิยมในโลกใหม่(2555-08-08T08:29:10Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลรายการ ฐานคิดเชิงปรัชญาศาสนาแนวลัทธิเสรีนิยมในโลกใหม่(2555-04-29T05:03:41Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลฐานคิดคือกระบวนทัศน์ความคิดในช่วงยุคใด ยุคหนึ่ง กระบวนทัศน์นี้มีลักษณะต่างกันออกไป แต่ที่สำคัญคือจะมีลักษณะเป็นความคิดริเริ่ม(๑) ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากและต้องใช้เวลา ความคิดริเริ่มจึงเป็นจุดสำคัญต่อการเริ่มต้นกิจกรรมทุกอย่าง ก้าวแรก ถือเป็นก้าวที่มีความสำคัญเป็นอย่างดังคนจีนกล่าวไว้ว่า “ร้อยลี้พันลี้ไม่สำคัญเท่าลี้แรก” นักคิดและนักจิตวิทยายอมรับและมั่นใจว่าการคิดริเริ่มเกิดขึ้นได้จากการเรียนรู้ การปลูกฝัง ฝึกฝน ชี้นำ ของบุคคลที่อบรมเลี้ยงดูรายการ ทางออกประเทศไทย สดใส หรือลางเลือน คมชัดลึก(หนังสือพิมพ์ คม ชัด ลึก, 2552-03-28) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลทางออกประเทศไทย สดใส หรือลางเลือนรายการ บทวิพากษ์ลัทธิอำนาจเบ็ดเสร็จ ตามทัศนะนักปรัชญาสำนักเหตุผลนิยม(2555-04-29T05:07:11Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลปัจจุบันความรู้เรื่องปรัชญา คือความรู้ถูก ความเข้าใจถูกต้อง การมีทักษะการคิด เป็นเครื่องบ่งให้เห็นถึงการมีความพร้อมในการนำความรู้ความเข้าใจมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางกาย ทางวาจาและจิตใจ ของมนุษย์ และเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่จะรองรับความเป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์อีกด้วย หมายความว่ามนุษย์มีโอกาสที่จะทำ พูดและคิดในทางสุจริตได้ง่ายยิ่งขึ้น และข้อนี้เป็นการชี้ให้เห็นความสำคัญของการต้องเข้าใจปรัชญา(ความรู้ถูก เข้าใจถูก) สิ่งสำคัญที่จะขาดเสียมิได้ก็คือการต้องมีทักษะที่ดีปฺระกอบเข้าด้วยกัน ดังนั้น ปรัชญา เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุผล กล่าวคือเป็นเรื่องของความรักในความรู้ หรือความสนใจใคร่รู้ ย่อมจะส่งผลให้เป็นความรอบรู้ ความรู้แจ้ง บุคคลที่รู้ทั่ว รู้แจ้ง รอบรู้รายการ บทวิพากษ์ลัทธิอำนาจเบ็ดเสร็จ ตามทัศนะนักปรัชญาสำนักเหตุผลนิยม(2555-08-08T08:35:26Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลรายการ บัฟฟาโล รีเทิร์น เดอะทุยแห่งนาแก(2555-04-30T06:47:23Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุลว่ากันว่าคำด่าที่บรรดาผู้ใหญ่ในบ้านเรานำมาอ้างว่า บรรดาลูกน้องที่หลงใหลในเสียงนกหวีด...ปรี๊ดๆ ชอบนักชอบหนาให้ด่า คือคำว่า “ควาย” อันหมายถึงควายหรือเปล่า...อะไรประมาณนี้ เลยอยากชวนมาสำรวจตรวจสอบเรื่องควายๆกันสักหน่อย ให้สมกับการกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้งของ “เดอะ บัฟฟาโล รีเทิร์น” เท่าที่เด็กบ้านนอกและอาชีพของบรรพบุรุษทำนานำมาประกอบกับนิสัยใจคอของควายที่ผู้เฒ่าเล่าขานกันต่อๆมาคือ ควายนั้นได้รับการยอมรับว่าเป็นสัตว์ที่ซื่อสัตย์ มีความขยัน ชอบอยู่ในน้ำโคลนรายการ บัฟฟาโล รีเทิร์น เดอะทุยแห่งนาแก(2555-08-08T09:33:30Z) ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล