Institute General Education
URI ถาวรสำหรับชุมชนนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู Institute General Education โดย วันที่ออก
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 20 ของ 623
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ Enhancing Resilience in Depression Students Through the Practice of Metta Bhavana According to Buddhist Principles(Interdisciplinary Academic and Research Journal, 2024-07-22) Pariya Subpavong, Dhanapon Somwang; Subpavong, P., & Somwang , DBackground and Aims: The challenges and problems that students face grow in number and size as they mature into adulthood, a time of obligations and expectations. Many students find it difficult to adjust, or they may adjust slowly, which can lead to long-term stress and eventually depression. This article therefore offers a way to prevent depression, which over time develops into depression and is found to rise annually due to sick leave taken by students who have been diagnosed and certified by specialized doctors. Instead, it practices loving-kindness meditation by Buddhist principles. Methodology: This research is based on an analysis of linked scholarly publications. Next, utilize descriptive presentation techniques while analyzing and synthesizing the study's objectives. Results: Following Buddhist guidelines, students can enhance their ability to recover from depression by engaging in loving-kindness meditation. These guidelines include: Before beginning the activity, set your intention, focus your attention until your mind is still, release a loving-kindness breath, center your thoughts, and humble them toward quiet for five minutes. Spread loving-kindness to yourself when you emerge from meditation, allowing happiness to arise within yourself first. Next, spread loving-kindness to all living things, enabling the happiness stream to expand widely and not just within ourselves. The act of being kind to others Similar to a brain program, meditation necessitates repeated contemplation and thought. It can aid in the development of more powerful positive traits when consistently practiced. There are three advantageous traits in this respect: (1) recognizing your advantages and strengths; (2) contentment with your life; and (3) gratitude for both the people in your life and those around you. The development of a positive outlook raises the bar for interpersonal and adaptive skills, which are the cornerstones of "The Power of Resilience." Conclusion: By practicing loving-kindness meditation and abiding by Buddhist precepts, students can strengthen their resilience and overcome depression. Positive characteristics like self-awareness, contentment, and thankfulness are fostered by this practice, and they improve the interpersonal and adaptive abilities that are crucial for resilience.รายการ บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับหลอดไฟถนน(หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2533) จักรณรงค์ กิจเกียรติ; นัฐพร ราชรองเมือง; ศราวุธ รอดม่วงโครงงานนี้เป็นการนำเสนอการออกแบบและสร้างบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ภาคเดี่ยว สำหรับหลอดโซเดียมความดันสูง 150 วัตต์ โดยใช้วงจรจุดหลอดภายในแบบแอลซีซี ที่มีการควบคุมกำลังไฟฟ้าที่หลอดให้คงที่ จุดประสงค์หลักของโครงงานนี้เน้นที่การออกแบบและวิเคราะห์ การจุดไส้หลอดโซเดียมความดันสูง ซึ่งในวงจรจุดหลอดภายในแบบแอลซีซี โดยใช้หลักการเรโซแนนท์ร่วมในการวิเคราะห์ และการควบคุมกำลังไฟฟ้าที่หลอดให้คงที่ทำให้การทำงานของระบบมีเสถียรภาพจาก หลักการที่ได้นำเสนอนี้ง่ายต่อการออกแบบและสามารถนำไปใช้งานได้ ภายใต้พื้นฐานการทำงานของสวิตซ์แรงดันศูนย์ สามารถที่จะลดจำนวนอุปกรณ์สวิตช์ลงได้ โดยการใช้อุปกรณ์สวิตซ์ของวงจรอินเวอร์เตอร์เรโซแนนซ์แบบกึ่งบริดจ์ให้ทำงานร่วมกับวงจรเรียงกระแสสำหรับเพื่อการแก้ไขค่าตัวประกอบกำลัง โดยวงจรต้นแบบทดลองกับหลอดโซเดียมความดันสูง 150 วัตต์รายการ นักวิเคราะห์นโยบาย : ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการวิเคราะห์นโยบาย(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณรายการ สถาบันอุดมศึกษากับแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณรายการ CIPP โมเดลประเมินที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณรายการ นักวิเคราะห์นโยบาย : ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการวิเคราะห์นโยบาย(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณในช่วงปี ค.ศ. 1970 มหาวิทยาลัยของอเมริกาได้มีหลักสูตรเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายโดยเฉพาะ และบางมหาวิทยาลัยได้กำหนดให้วิชาการวิเคราะห์นโยบายเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการสาธารณะ และการจัดการธุรกิจ สำหรับในประเทศไทยวิชาการวิเคราะห์นโยบายจะพบในหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์โดยอาจใช้ชื่อวิชาที่แตกต่างกันไป อาจพบในชื่อ “การวิเคราะห์นโยบาย” หรือ “นโยบายสาธารณะ” ทั้งนี้การวิเคราะห์นโยบายเป็นศาสตร์ที่นักวิชาการ นักวิชาชีพ จากหลากหลายสาขาวิชาให้ความสนใจและสอดแทรกเข้าไปในเนื้อหาวิชาของตนเองด้วย ไม่ว่าจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร นักสังคมศาสตร์ หรือนักกฎหมาย เนื่องจากเป็นการกำหนดกรอบของนโยบายที่เกี่ยวกับกับการให้บริการแก่สังคม ซึ่งเป็นความต้องการของชุมชน องค์กรที่เกี่ยวข้อง และบางนโยบายอาจถือได้ว่าเป็นนโยบายของประเทศที่ผู้ปฏิบัติและผู้บริหารไม่อาจที่จะปฏิเสธที่จะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยรายการ CIPP โมเดลประเมินที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณรายการ สถาบันอุดมศึกษากับแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณในสังคมของกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ทุกคนคงปฏิเสธไม่ได้ว่ารู้จักหรือคุ้นเคยกับ “การประกันคุณภาพการศึกษา” มาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาจะเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้ในการเทียบเคียงสำหรับเพื่อให้เกิดการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่อไป การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามีทั้งการประกันคุณภาพภายใน เป็นการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ที่เป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพโดยบุคลากรของสถานศึกษาแห่งนั้น และการประกันคุณภาพภายนอก ที่เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา มีการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก ซึ่งกระทำโดยสำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) หรือผู้ประเมินภายนอกแล้วแต่กรณี ทำให้การประกันคุณภาพการผลิตบัณฑิตในปัจจุบันอ้างอิงถึงเกณฑ์มาตรฐานเดียวกันและกำหนดตัวบ่งชี้ชุดเดียวกันซึ่งช่วยให้ระบบอุดมศึกษามีเอกภาพได้ดี(เทียนฉาย กีระนันทน์. 2548 : 11) รูปแบบที่ใช้กันทั่วไปเพื่อให้เกิดการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการศึกษาที่ใช้กันมากคือการประเมินเชิงพัฒนาตาม PDCA (Plan = วางแผน, Do = ปฏิบัติ, Check = ตรวจสอบ และ Act = ปรับปรุง) และการประเมินเชิงเทียบสมรรถนะ(benchmark) (ประดิษฐ์ มีสุข. 2546 : 3) แต่โดยทั่วไปจะพบว่าไม่ว่าจะเป็นการประกันคุณภาพภายในหรือภายนอกก็ตาม จะเป็นการเตรียมการแบบผักชีโรยหน้ามากกว่าทำเพื่อปรับปรุงคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา มิใช่การดำเนินการเพื่อเพียงแต่การตรวจสอบจากแฟ้ม จากเอกสารที่ได้รวบรวมเอาไว้ เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินได้ตรวจสอบหลักฐานและใช้อ้างอิงเท่านั้น แต่ควรมุ่งเน้นที่การปฏิบัติจริง ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้นผู้เขียนจึงขอประมวลความเข้าใจในความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดจนหลักการและแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาและสภาพการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน สุดท้ายที่ประเด็นคำถามหรือปัญหาของการประกันคุณภาพการศึกษารายการ วิจัยสถาบันคืออะไร ทำไปทำไม(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2551) ขนิษฐา, ชัยรัตนาวรรณรายการ การใช้ Google App เพื่อสร้างเครือข่าย(2551) Jugkree Palakawong Na Ayutthayaรายการ สืบค้นอย่างไรให้ได้งาน และสามารถสร้างเครือข่ายเรียนรู้ร่วมกัน(2551) ปรเมศวร์, มินศิริรายการ การใช้ Google App เพื่อสร้างเครือข่าย(2551) Jugkree Palakawong Na Ayutthayaรายการ การสืบค้นข้อมูล_บทความวิชาการ(2551) อุดม, ไพรเกษตรรายการ ศึกษาทั่วไปต้องพัฒนาอย่างไรในสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลก(2551) ไพฑูรย์ สินลารัตน์รายการ ศึกษาทั่วไปต้องพัฒนาอย่างไรในสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลก(2551) ไพฑูรย์, สินลารัตน์รายการ การสืบค้นข้อมูล_ตำรา(2551) อุดม ไพรเกษตรรายการ ชีวิตที่ต้องอยู่กับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะโลกร้อน(2551-01-31) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณรายการ ชีวิตที่ต้องอยู่กับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะโลกร้อน(2551-01-31) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณรายการ สรุปผลที่ได้จากการอ่านรายงานวิจัยสถาบัน เรื่อง แนวทางการปฏิรูปการจัดการอุดมศึกษา(2551-02-09) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณแนวทางในการบริหารจัดการการอุดมศึกษา ควรพัฒนาศักยภาพและพัฒนาอาจารย์ พัฒนาผู้บริหาร พัฒนาเจ้าหน้าที่และมุ่งพัฒนานักศึกษา แต่ปัจจัยที่เป็นเงื่อนไขในการกำหนดความเป็นไปได้ในการบรรลุถึงวิสัยทัศน์ ซึ่งมีดังนี้คือ 1) งบประมาณที่มีอย่างจำกัด 2) ความพร้อมของบุคลากร ซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาในการพัฒนา เพื่อปรับเปลี่ยน ให้ดีขึ้นมีคุณภาพมากขึ้น 3) ปริมาณอุปกรณ์ทางด้าน เทคโนโลยีซึ่งมีอยู่อย่างจำกัด ไม่เพียงพอ ซึ่งการลงทุนทางด้านนี้ต้องใช้ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงมาก และ 4) โครงสร้างการบริหารจัดการยังไม่พร้อมต่างคนต่างทำหน้าที่ของตนเอง ยังมีการทำงานซ้ำซ้อนกันอยู่ จึงทำให้มีการใช้ทรัพยากรที่ไม่มีประสิทธิภาพรายการ การใช้งานวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างมืออาชีพ(2551-02-09) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณ