SPU Information Science Institute of Sripatum University
URI ถาวรสำหรับชุมชนนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู SPU Information Science Institute of Sripatum University โดย ชื่อ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 11 ของ 11
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ Using Mobile Application for Teaching Chinese Vocabulary in Thailand High School(The 43rd ASAIHL Thailand Conference: The Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning On Wednesday 2nd October 2019, 2562-10-02) Wu Haopeng; Kriangkrai SatjaharutThis thematic paper examined the use of the mobile phone Application in Chinese vocabulary learning. The research objectives included: (1) To study the overall attitude of students in Chinese learning; (2) To study results of Chinese vocabulary learning attitude; ( 3) To study the Chinese achievement between before and after using mobile application learning. To research the three objectives, analysis was done across the data collection methods. This paper uses quantitative research, including lesson plans, pre- test, post- test, questionnaires. This paper takes 130 grade 9 students for population and take 100 students. The research finding revealed that: (1) Students think Chinese is important but difficult to learn; ( 2) Students think Chinese vocabulary is the most significant in Chinese learning and need to learn firstly; (3) Students perform better after using mobile Application in learning Chinese. Finally, the paper discuss and recommendation for teaching and learning.รายการ การบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่และการเรียนรู้โดยการชี้นําตนเอง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผู้เรียนวัยผู้ใหญ(2565-07-25) ผุสดี กลิ่นเกษรการเรียนรูของผูเรียนวัยผูใหญเปนการเรียนรูที่อาศัยความเชื่อพื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรูของ ผูใหญและการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง โดยทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญ (Adult Learning Theory) คือ ศาสตรและศิลปในการสอนใหผูใหญเกิดการเรียนรูที่มีความแตกตางจากการเรียนรูของเด็ก โดยผูใหญจะมีการ เขาใจตอตนเอง มีประสบการณ มีความพรอมที่จะเรียนรู และมีเปาหมายในการเรียนรูของตนเอง ซึ่งสิ่งเหลานี้ ทําใหการเรียนรูของผูใหญมีความแตกตางจากของเด็กสงผลใหผูเรียนที่เปนผูใหญมีการเรียนรูที่สามารถชี้นํา ตนเองได การเรียนรูโดยการชี้นําตนเองเปนการเรียนรูที่ผูเรียนตองรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง เปนกระบวนการที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และเนนการเรียนรูที่เปนอิสระ การเรียนรูตองสามารถตอบสนอง ความตองการของผูเรียนได นอกจากนี้ผูเรียนที่เปนวัยผูใหญจะมีลักษณะของการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองของ แตละบุคคลที่แตกตางกันออกไปตามคุณวุฒิ วัยวุฒิ และประสบการณของบุคคล ซึ่งลักษณะของการเรียนรูโดย การชี้นําตนเองเปนการเรียนรูที่มีความสําคัญยิ่ง เนื่องจากเปนการสงเสริมใหผูใหญมีการพัฒนาศักยภาพและ ความสามารถของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัด ซึ่งเปนการยกระดับการเรียนรูของผูเรียนวัยผูใหญในยุคปจจุบัน ที่ตองมีการเรียนรูอยูตลอดเวลาอยางสม่ําเสมอตอเนื่องหรือเปนการเรียนรูตลอดชีวิตนั่นเองเพื่อใหสอดคลอง กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21รายการ รายการ การพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน ร่วมกับการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง.(2565-10-18) ปิยะพงษ์ ธรรมรักษ์, ผุสดี กลิ่นเกษร.การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบั การเรี ยนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง (2) เพื่อเปรี ยบเทียบระดับความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรี ยนก่อนเรียนและ หลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ ั ่ ง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง จํานวน 5 แผน มีคุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด แบบประเมินสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ท้ายคาบโดยนักเรียน และแบบทดสอบวัดความฉลาดทางดิจิทัล มีค่าความเชื่อมันที่ ่ 0.79 กลุ่มตัวอยาง คือ นักเรียนชั ่ ้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล จังหวัดสกลนคร จํานวน 160 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที แบบ dependent samples ผลการศึกษาวิจัยพบวา ( ่ 1) การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบการเรียนรู้ ั แบบไมโครเลิร์น นิ่ง มี 6 องค์ประกอบ คือ การกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ การวางแผนลําดับเนื ํ ้อหาการสอน การทําวิดีโอ การสอนหรื อแหล่งข้อมูลสืบค้น การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การทํากิจกรรมในห้องเรี ยน และการวัด ประเมินผล (2) ระดับความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบั การเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ ง สูงกวาก่ ่อนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . ่ 05รายการ การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร.(2564-10-18) บุญลัดดา ปริสุทธ, ผุสดี กลิ่นเกษร.บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่องวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6ก่อนและหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมเป็ นฐานเครื่องมือวิจัย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้มีค่าประสิทธิภาพ และ แบบทดสอบ วัดผลการเรี ยนรู้มีค่าความเชื่อมั่ นที่ .56กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนสังกัด สํานักงานเขตบางเขนกรุงเทพมหานคร จํานวน 36คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย (x�) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) สถิติทดสอบ (t) ร้อยละหรือเปอร์เซ็น (Percentage) และ การใช้การหาประสิทธิภาพ (E1/E2) ผลการศึกษาวิจัย พบวา่ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 พบวา ค่ ่าประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 (E1/E2) ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เท่ากบ ั 85.87/85.19 2)ผลการเปรียบเทียบคะแนนของการทดสอบก่อนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 พบว่า คะแนนทดสอบ หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียน ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 6 สูงกวาคะแนนทดสอบก ่ ่อนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ. ่ 05 (t=16.37; p < .05)รายการ การพัฒนานิทานแอนิเมชั่นเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี.(2564-10-18) ธนัทพัชร์ อยู่โต, ผุสดี กลิ่นเกษร.การวิจัยครั้งนี้เป็ นรูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อพัฒนานิทานแอนิ-เมชัน่ เป็ น สื่อจัดการเรี ยนรู้ในการส่งเสริ มความสามาสามารถด้านการฟังและการพูด 2) เพื่อศึกษาและเปรี ยบเทียบ ความสามารถในการฟังและการพูดโดยใช้นิทานแอนิเมชัน่ จัดการเรียนรู้ ก่อนการทดลองและหลังการทดลองของ เด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กนักเรียนปฐมวัย สังก ่ ดองค์กรปกครองส ั ่วนท้องถิ่ น อําเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 20คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ ดัชนี ประสิทธิผล และสถิติในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบวา ่ 1) ได้พัฒนานิทานแอนิเมชัน่ จัดการเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยซึ่งผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อนิทาน แอนิเมชันทุกด้านล้วนมีความเหมาะสมและเห็นด้วยอยู ่ ในระดับมากที่สุด และผลการวิเคราะห์หาประสิทธิผลของ ่ การจัดใช้นิทานแอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ เพื่อส ่ ่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย จํานวน 20 คน มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากบ ั 0.8531 แสดงวานักเรียนมีความรู้เพิ ่ ่ มขึ้น 0.8531 หรือคิดเป็ นร้อยละ 85.31 2) ผลการทดลองใช้นิทานแอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ เพื่อส ่ ่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูด ของเด็กปฐมวัย ค่าเฉลี่ยโดยรวมของคะแนนความสามารถในการฟังและการพูดของเด็กนักเรียนหลังการใช้นิทาน แอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้มีค ่ ่าเฉลี่ยเท่ากบ ั 18.70 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบ ั 1.03 คิดเป็ นร้อยละ 93.5 อยูในระดับ ดีมาก และผ ่ านเกณฑ์ที่ก ่ าหนด ํ และผลการทดลองที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยการใช้นิทานแอนิเมชัน่ เป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ หลังเรียนสูงกวาก่ ่อนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . ่ 05รายการ การศึกษาแนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของบุคลากรสานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์.(2564-10-18) นิสากร เนตรเพ็ง, ผุสดี กลิ่นเกษร.การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ จํานวน 2ข้อ คือ1) เพื่อศึกษาลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของบุคลากร สายสนับสนุน ระดับบังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ 2) เพื่อศึกษาแนวทาง ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตของบุคลากรสายสนับสนุน ระดับบังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงาน ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์กลุ่มตัวอยาง่ คือ บุคลากรสายสนับสนุน ระดับบังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงาน ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จํานวน 232คน โดยการสุ่มตัวอยางแบบแบ ่ ่งชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นสองระยะ คือ ระยะที่ 1 เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามลักษณะเป็ นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดย การสนทนากลุ่ม เครื่องมือที่ใช้คือคู่มือประกอบการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาแนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของบุคลากรสํานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ วิเคราห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบวา ่ 1)ผลการศึกษาลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของบุคลากรสายสนับสนุน ระดับบังคับ บัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประกอบไปด้วย 6 ด้าน คือ ด้านเจตคติ ด้านเป้าหมาย ในการเรียนรู้ ด้านการควบคุมตัวเองในการเรียนรู้ ด้านการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ด้านการสื่อสาร และด้าน การแก้ไขปัญหา โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่ งด้านเจตคติมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านเป้าหมายใน การเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด 2)ผลการศึกษาแนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของบุคลากรสายสนับสนุน ระดับ บังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประกอบไปด้วย 6 ด้าน คือ ด้านเจตคติ ควรจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดที่เป็นฐานข้อมูลออนไลน์ และควรสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้ ตลอดชีวิตด้วยการสนับสนุนรางวัลหรือการให้ค่าตอบแทนเพิ่ มขึ้น เมื่อมีความสามารถพิเศษเพิ่ มขึ้น ด้านเป้าหมาย ในการเรียนรู้ ควรกาหนดช ํ ่วงเวลาใดเวลาหนึ่งในสัปดาห์ ให้มีการแข่งขันความรู้ที่ได้ค้นหา/อ่าน มานําเสนอหรือ ระดมสมองแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกนและก ั น และควรประชาสัมพันธ์หนังสือใหม ั ่และหนังสือน่าอ่านลงบอร์ด ประชาสัมพันธ์ต่างๆ และจัดมุมนั่ งอ่านหนังสือตามโซนต่างๆ เพื่อกระตุ้นความสนใจในการอ่านหนังสือในแต่ละวัน ด้านการควบคุมตนเองในการเรียนรู้ องค์กรควรสนับสนุนให้บุคลากรได้ฝึ กฝนการสร้างสมาธิ ผ่านโครงการ สมาธิเพื่อสร้างปัญญา ด้านการเรียนรู้อยางสร้างสรรค์ ควรส ่ ่งเสริมให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกนและก ั น ั ไม่วาจะในระดับเดียวก ่ นหรือต ั ่างระดับ รวมไปถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสายงาน เพื่อเกิดเป็ นองค์ความรู้ใหม่ ให้กบตนเอง ด้านการสื่อสาร ั ควรส่งเสริมให้บุคลากรได้ฝึ กภาษาที่หลากหลายกบเจ้าของภาษาโดยตรง อาจจัดซื ั ้อ โปรแกรมหรือแอพลิเคชันที่ช ่ ่วยฝึ กทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อให้บุคลากรมีประสิทธิภาพในการสื่อสารที่ดี มากยิ่ งขึ้น และด้านการแกไขปัญหา ควรส ้ ่งเสริมโดยการเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ ในเรื่องการแกไขปัญหาในการทํางานมาบรรยายให้ก ้ บบุคลากรในองค์กร เพื่อเพิ ั ่ มศักยภาพและลดความผิดพลาด ในการทํางานรายการ การสร้างแรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้ด้วยกรอบความคิดเชิงบูรณาการของนักศึกษา หลักสูตร . วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม ณัชนรี นุชนิยม(หนังสือประมวลบทความในการประชุมวิชาการ (Proceedings) ครั้งที่ 14 ประจำปี 2562 การสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ ของผู้เรียนเพื่อสังคมที่หลากหลาย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย “Inspiring Student Learning for Diverse Societies” สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย, 2562-03-29) ณัชนรี นุชนิยมการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ด้วยกรอบความคิดเชิง บูรณาการของนักศึกษาสาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (2) สรุปผลการเรียนรู้ด้วยกรอบความคิดเชิงบูรณาการของนักศึกษาจากการสร้างสรรค์ชิ้นงานในโครงการ Idea Market ที่จัดขึ้นในปีการศึกษา 2561 การวิจัยเป็นแบบผสานวิธีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการสร้างแรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้ด้วยกรอบความคิดเชิงบูรณาการ เก็บรวบรวมโดยวิธีการสัมภาษณ์ จากการสังเกต ข้อมูลพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ และใช้การวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อใช้ใน การประเมินผลงานโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Rubric Score) และอาจารย์ประจำรายวิชา ทั้งนี้กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 29 คน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลจากการสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ด้วยกรอบแนวคิดเชิงบูรณาการ โดยการสร้างแรงบันดาลใจนี้นักศึกษาสาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ใช้รูปแบบการเรียนรู้ 3 ขั้นตอน คือ 1) การถอดกรอบ พิจารณาปัญหา และศึกษาองค์ความรู้ เพื่อได้ข้อสรุป และวิธีการในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้ด้วยตนเองในรูปแบบ การทำงานเป็นทีม (Teamwork) 2) การขยายกรอบ วิเคราะห์และเชื่อมโยงที่มาของแนวคิด โดยนำองค์ความรู้ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างต่อเนื่อง 3) การคลุมกรอบ เกิดการบูรณาการเชื่อมโยงเนื้อหา ข้อมูล ได้กรอบความคิดใหม่ในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ผลการประเมินการเรียนรู้โดยผู้ทรงคุณวุฒิและอาจารย์ประจำรายวิชา การสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษานั้น การสร้างแรงบันดาลใจที่เกิดจากการสร้างสรรค์ผลงาน โดยค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ กระเป๋าผ้าพรรณารา 3.40 รองลงมา คือ สมุด (ถนอมสายตา) 3.20 รองลงมา คือ ผลิตภัณฑ์ Der Fleur corp. 2.34 ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับกรอบแนวคิดเชิงบูรณาการ พัฒนาการเรียนรู้และทักษะทางการคิดของนักศึกษา โดยผ่านแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ชิ้นงานรายการ การเรียนการสอนแบบไฮบริด(Hybrid Learning)กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในศตวรรษที่ 21(วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้าที่ 213-224, 2563-12) ศิวาพัชญ์ บำรุงเศรษฐพงษ์; ภูริสร์, ฐานปัญญา; เกรียงไกร สัจจะหฤทัยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 – 2579 นวัตกรรมความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่าง ก้าวกระโดด และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้ครูผู้สอนมีการตื่นตัว และปรับกระบวนทัศน์ใน การจัดการเรียนการสอนจากการเรียนการสอนแบบเดิม (Teaching Paradigm) พัฒนาระบบและกระบวนการ จัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ เพื่อน าประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และ ความเหลื่อมล้ าภายในประเทศ จากสาเหตุดังกล่าวจึงเป็นที่มาของบทความเรื่อง การเรียนการสอนแบบไฮบริด (Hybrid Learning) กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ดังนี้1) เพื่อศึกษา การเรียนการสอนแบบไฮบริดกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 2) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไข ปัญหาและอุปสรรคของการเรียนการสอนแบบไฮบริด กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนแบบไฮบริด กับการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาไทย ในศตวรรษที่ 21 จากการศึกษาพบว่า การเรียนรู้แบบไฮบริด เป็นรูปแบบการสอนอีกรูปแบบหนึ่ง ที่เหมาะต่อการน ามาใช้ในการเรียนรู้ในยุคการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นลักษณะการ ผสมผสานรูปแบบการเรียนรู้ทั้งในลักษณะเผชิญหน้า และการเรียนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ในการสร้างองค์ ความรู้ได้อย่างหลากหลาย อันก่อให้เกิดการศึกษาที่มีคุณภาพและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้เรียนรายการ ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความขัดแย้งกับประสิทธิผลของสถานศึกษา เครือข่ายการศึกษาสุนทรภู่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต2.(วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด., 2563-08) ปนัดดา จันตุ่ย; สิรินธร สินจินดาวงศ์.การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการบริหารความขัดแย้งของสถานศึกษาเครือข่ายการศึกษาสุนทรภู่ 2) ระดับประสิทธิผลของสถานศึกษาเครือข่ายการศึกษาสุนทรภู่ และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความขัดแย้ง กับประสิทธิผลของสถานศึกษาเครือข่ายการศึกษาสุนทรภู่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา เครือข่ายการศึกษาสุนทรภู่ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 131 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) การบริหารความขัดแย้ง ในสถานศึกษาเครือข่ายการศึกษาสุนทรภู่ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( ค่าเฉลี่ย =3.38 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน= 0.88) 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา เครือข่ายการศึกษาสุนทรภู่ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( ค่าเฉลี่ย =4.12,ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน= 0.52 และ3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความขัดแย้งกับประสิทธิผลของสถานศึกษาเครือข่ายการศึกษาสุนทรภู่ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2 โดยรวมมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01รายการ นวัตกรรมกระบวนการการเรียนรู้โดยการชี้นำตนเองของผู้เรียนวัยผู้ใหญ่.(2564-10) ผุสดี กลิ่นเกษรการเรียนนรู้โดยการชี้นําตนเอง(Self-Directed Learning) เป็ นกระบวนการที่มีความสําคัญและมีบทบาท อย่างมากในผู้เรี ยนวัยผู้ใหญ่ ซึ่ งเน้นที่ผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ เนื่องจากเป็ นกระบวนการที่บุคคลคิดริเริ่มขึ้นเพื่อ ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ ตามความสนใจ ความต้องการ ความถนัด เป้าหมายของตนเอง ภายใต้ องค์ประกอบของการเรียนรู้โดยการชี้นําตนเองได้แก่ความรับผิดชอบในตัวบุคคล (personal responsibility) การเป็ นผู้เรียนที่มีลักษณะชี้นําตนเองได้(learner self-direction) การเรียนรู้โดยชี้นําตนเอง (self-directed learning) ของปัจเจกบุคคลแต่ละบุคคล และปัจจัยภายในสิ่งแวดล้อมทางสังคม (factors within the social context) โดยได้ นําศาสตร์และศิลป์ ในการช่วยให้ผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้ ดังนี้ ความเข้าใจต่อตนเอง (Self-concept) ประสบการณ์ (Experience) ความพร้อมที่จะเรียนรู้ (Readiness to Learn) และเป้าหมายในการเรียนรู้ (Orientation to Learning) เข้ามาพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ และศักยภาพ ตลอดจนทัศนคติของผู้เรียนวัยผู้ใหญ่เพื่อช่วยให้ผู้ใหญ่ได้ เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่มีลักษณะของการเรียนรู้โดยการชี้นําตนเองได้มีความคิดที่สร้างสรรค์จนเกิดเป็ น นวัตกรรมกระบวนการในตัวบุคคลเฉพาะแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกนัออกไป และเป็ นการสร้างคุณค่าให้แก่ ตัวบุคคลอีกด้วย ดังนั้น ปัจจัยสําคัญที่สามารถทําให้เกิดนวัตกรรมกระบวนการได้ คือ ทัศนคติ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และศักยภาพของทัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็ นหัวใจหลักในการพัฒนาผู้เรียนวัยผู้ใหญ่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไป ในทิศทางที่ดีขึ้น สามารถดํารงชีวิตและแกปัญหาที่เผชิญอ ้ ยู่ได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในยุคปัจจุบันน