การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 64 _ผลงานชื่อ “พันธจองจำแห่งจิต”

เชิงนามธรรม

ในผลงานการสร้างสรรค์ศิลปะชุดนี้ เป็นการรวบรวมแนวความคิดที่มองถึงโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง “ภูมิ” กับ “กาย” โดยตีความใช้สัญลักษณ์แทนความหมายของสิ่งสองสิ่งที่ดึงดูดซึ่งกันและกัน “กายภูมิ” มิติแห่งการใช้กายเป็นพาหนะในการดารงอยู่ของชีวิต เป็นพรมแดนที่จิตยึดติดให้ความสาคัญอยู่กับรูปลักษณ์ภายนอก จนสร้างความทะเยอทะยาน กลายเป็นวงจร ยึดเหนี่ยวจิตเข้ากับกายมนุษย์ เป็นพันธนาการที่คลุมไว้และไม่อาจพบตัวตนที่แท้จริงได้

คำอธิบาย

คำหลัก

ภูมิ พันธนาการ กาย จิต มนุษย์

การอ้างอิง

ภานุวัฒน์ สิทธิโชค, การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 64 (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 25ุ62), 65.