การสร้างสรรค์ผลงาน 3 มิติภายใต้หัวข้อ “พันธจองจำแห่งจิต”
กำลังโหลด...
วันที่
2564-05-26
ผู้เขียน
ชื่อวารสาร
วารสาร ISSN
ชื่อหนังสือ
สำนักพิมพ์
การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 6 “สังคมความรู้และดิจิทัล” KDS 2021
เชิงนามธรรม
“พันธจองจำแห่งจิต” แสดงออกถึงโครงสร้างพันธะผูกพันระหว่าง “กาย” กับ “จิต” เป็นโครงสร้างภาวะของมนุษย์ ที่ตอบรับปฏิกิริยาลักษณะเหนียวรั้ง สร้างพันธนาการจองจำ เสรีภาพจากภายในจิตวิญาณของความเป็นมนุษย์ ซึ่งแม้แต่ตนเองก็มิอาจหยุดยั้งสิ่งที่เกิดขึ้นจากความหิวที่ไม่รู้จบได้ จนเกิดความรู้สึกกดทับ แสดงออกด้วยการตอบโต้ที่รุนแรง หากมนุษย์ยอมรับว่าจิตตนเป็นอิสระและเป็นคนละส่วนกับร่างกายแล้ว มนุษย์ย่อมดำเนินชีวิตอยู่ในฐานะที่ใจเป็นอิสระโดยสมบูรณ์เหนือพันธนาการทางกายและอาจค้นพบตัวตนที่แท้จริงได้
นอกจากนั้นเทคนิคในการสร้างสรรค์มีผลต่อการแสดงออกทางอารมณ์ โดยถ่ายทอดสู่ผลงาน 3 มิติ เพื่อสะท้อนความสมจริงของดินแดน พันธนาการจองจำ ระหว่าง “กาย” กับ “จิต”
คำอธิบาย
คำหลัก
พันธจองจำ, กาย, จิต, มนุษย์
การอ้างอิง
ภานุวัฒน์ สิทธิโชค, การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 6 “สังคมความรู้และดิจิทัล” KDS 2021 (ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี , 2564), 357-367.