กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8372
ชื่อเรื่อง: ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับบทนิยามคดีผู้บริโภค : ศึกษากรณีสินเชื่อส่วนบุคคล
ชื่อเรื่องอื่นๆ: LEGAL PROBLEMS ON DEFINITION OF CONSUMER CASES : STUDY ON PERSONAL LOANS
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: อิดชาท์เรส หวังสบู
คำสำคัญ: ผู้บริโภค
สินเชื่อส่วนบุคคล
วันที่เผยแพร่: 2565
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
แหล่งอ้างอิง: อิดชาท์เรส หวังสบู. 2558. “ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับบทนิยามคดีผู้บริโภค : ศึกษากรณีสินเชื่อส่วนบุคคล.” สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
บทคัดย่อ: พระราชบัญญัติพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 บัญญัติขึ้นโดยมีเจตนารมณ์เพื่อให้มีระบบวิธีพิจารณาคดีที่เอื้อต่อการใช้สิทธิเรียกร้องของผู้บริโภคให้ได้รับการแก้ไขเยียวยาด้วยความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพ ขจัปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค ในขณะเดียวกันยังเป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบธุรกิจหันมาให้ความสำคัยต่อการพัฒนาคุณภาพของสินค้าและบริการให้มีมาตรฐานยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้บริโภคในสังคมและรับบเศรษฐกิจของประเทศ จากการศึกษาพบว่าพระราชบัญยัติพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 ยังมีปัญหาอยู่หลายประการ ได้แก่ ปัญหาบทนิยามของคดีผู้บริโภค ปัญหาการพิจารณาคดีสินเชื่อส่วนบุคคลซึ่งกรณีผู้ขอสินเชื่อมีสถานะเป็นผู้ประกอบธุรกิจ นอกจากนี้ยังมีปัญหาการตีความบทบัญญัติของกฎหมายที่ก่อให้เกิดปัญหาในการฟ้องคดีและเป็นช่องทางให้คู้ความประวิงคดี
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8372
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:LAW-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์



รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น