BUS-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู BUS-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ) โดย ผู้เขียน "กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 4 ของ 4
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ ความพึงพอใจในการใช้บริการรถไฟฟ้า BTS ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2562-12-19) ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์; กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล; สุธินี มงคล; ปัทมา โกเมนท์จํารัส; บรินดา ศัลยวุฒิ; ศุภานัน แก้วพามา; นิภาพร โคตรชัย; ธันย์ชนก เขียวทรายมูลการศึกษาวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการใชบบริการรถไฟฟ้า BTS ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจของผู้โดยสารรถไฟฟ้า BTS ในกรุงเทพมหานคร และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการรถไฟฟ้า BTS ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครจาํแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล โดยงานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงสํารวจ ซึ่งมุ่งเน้นทำการสํารวจสอบถามเฉพาะผู้ที่ใช้บริการรถไฟฟ้า BTS ในเขตกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยกําหนดกลุ ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือประชาชนทั่วไปไปที่ใชบ้ริการ BTS ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 538 คน และใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental sampling) ซ่ึงในการวิจยัครั ้งนี ้ ผูว้ิจยัไดท้าํการวิเคราะห์ขอ้มูล โดยการรวบรวมแบบสอบถามที่ได้รับทั้งหมด นำมาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย โดยกําหนดระดบัความมีนัยสำคัญ 0.05 ทั้งนี้ สถิติที่ใชใ้นการวิเคราะห์ขอ้มูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีดังนี้ ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ค ่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) สําหรับค่า นยัสาํคญัทางสถิติที่ใชใ้นการวเิคราะห์ครั้งนี้กําหนดไวท้ี่ระดบั .05 และ .01 ผลการวจิยั พบว่าผตู้อบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลความพึงพอใจในการใช้บริการ BTS ด้านรูปภาพลักษณ์ อยู่ในระดับมาก ( x= 3.97 , S.D.= 0.69) ด้านการตอบสนองลูกค้า มีระดบัความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x = 3.78, S.D.= 0.75) ด้านความรับประกัน/ความมั่นคง มีระดับความคิดเห็นระดับมาก (x = 3.83, S.D.= 0.76) ด้านการเอาใจใส่ลูกค้า เป็นรายบุคคลมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x =3.84, S.D.= 0.72) และด้านความหน้าเชื่อถือและไว้วางใจพบว่า มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากรายการ ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาMGT345 การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่(การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติครั้งที่17 " นวัตกรรมการศึกษา: อนาคตและความก้าวหน้าในการวิจัยทางการศึกษาด้านการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาวิชาชีพ" จัดโดย มหาวิทยาลัยศิลปกร วันที่ 5 มิถุนายน 2564 หน้า 193-209, 2564-06-05) กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษาในรายวิชา MGT345 การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคล ตลอดจนศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่ลงทะเบียนในรายวิชา MGT345 การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 80 คน ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย โดยกำหนดระดับความมีนัยสำคัญ 0.05 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล มีดังนี้ ค่าความถี่ ,ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, t-test, One-Way ANOVA และวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ระดับด้านความพึงใจในการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง ด้านปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน มีความคิดเห็นต่อผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกัน ส่วนความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน ไม่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา MGT345 การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่ มหาวิทยาลัยศรีปทุมรายการ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชา MGT370 นวัตกรรมและการพัฒนาแนวคิดธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม(Sripatum University, 2565-06-10) กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชา MGT370 นวัตกรรมและการพัฒนาแนวคิดธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (2) ความสัมพันธ์ของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาดังกล่าว (3) อิทธิพลของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชานั้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่ลงทะเบียนในรายวิชา MGT370 ปีการศึกษา 2564 จานวน 132 คน ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากการรวบรวมแบบสอบถามความคิดเห็นที่ได้รับทั้งหมด โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย โดยกาหนดระดับความมีนัยสาคัญ 0.05 ทั้งนี้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมประสิทธิ์สหสัมพันธืเพียรสันและการ วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณรายการ อิทธิพลของคุณภาพชีวิตต่อผลการปฏิบัติงานของแรงงานต่างด้าวในอุตสาหกรรมก่อสร้าง จังหวัดสมุทรปราการ(Conference Schedule The 43rd ASAIHL Thailand Conference: The Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning: ASAIHL Theme: Revitalizing Higher Education for Sustainable Development, 2562-10-02) ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์อินทร์; กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล; นิตยา ศรีจันทร์อินทร์การศึกษาวิจยัครั ้งนี ้มีวตัถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความแตกต ่างของปัจจยัส ่วนบุคคลกับผลการ ปฏิบตัิงานของแรงงานต ่างดา้วในอุตสาหกรรมก ่อสร้าง จังหวดัสมุทรปราการ 2) ศึกษาอิทธิพลของคุณภาพชีวติ ต่อผลการปฏิบตัิงานของแรงงานต ่างดา้วในอุตสาหกรรมก ่อสร้าง จังหวดัสมุทรปราการ กลุ ่มตวัอย่างที่ใชใ้นการ วิจยัคือแรงงานต่างดา้ว จาํนวน 384 คน เครื่องมือที่ใชใ้นการรวบรวมขอ้มูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใชใ้นการ วิเคราะห์ขอ้มูล คือ ค ่าเฉลี่ย ส ่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test one-way ANOVA และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ แบบสเตปไวส์ ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัจจัยส ่วนบุคคลที่ต ่างกันมีระดับผลการปฏิบตัิงานแตกต ่างกันอย่างมี นัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเวน้สถานภาพสมรส ที่ไม ่แตกต ่าง 2) ปัจจัยคุณภาพชีวิตการทาํงาน ด้าน ลกัษณะงานมีส่วนส่งเสริมดา้นบูรณาการทางสงัคม ดา้นค่าตอบแทนเพียงพอและยตุิธรรม และดา้นลกัษณะงานที่ ตั ้งอยู ่ บนฐานของกฎหมายหรือกระบวนการยตุิธรรม มีอิทธิพลต ่อผลการปฏิบตัิงาน (R = 0.601) และสามารถ อธิบายความแปรผนัของผลการปฏิบตัิงาน ไดอ้ย่างมีนยัสาํคญัทางสถิติที่ระดบั 0.05 ร้อยละ 36.20