BUS-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู BUS-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ) โดย ผู้เขียน "ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 2 ของ 2
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ ความพึงพอใจในการใช้บริการรถไฟฟ้า BTS ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2562-12-19) ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์; กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล; สุธินี มงคล; ปัทมา โกเมนท์จํารัส; บรินดา ศัลยวุฒิ; ศุภานัน แก้วพามา; นิภาพร โคตรชัย; ธันย์ชนก เขียวทรายมูลการศึกษาวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการใชบบริการรถไฟฟ้า BTS ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจของผู้โดยสารรถไฟฟ้า BTS ในกรุงเทพมหานคร และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการรถไฟฟ้า BTS ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครจาํแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล โดยงานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงสํารวจ ซึ่งมุ่งเน้นทำการสํารวจสอบถามเฉพาะผู้ที่ใช้บริการรถไฟฟ้า BTS ในเขตกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยกําหนดกลุ ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือประชาชนทั่วไปไปที่ใชบ้ริการ BTS ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 538 คน และใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental sampling) ซ่ึงในการวิจยัครั ้งนี ้ ผูว้ิจยัไดท้าํการวิเคราะห์ขอ้มูล โดยการรวบรวมแบบสอบถามที่ได้รับทั้งหมด นำมาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย โดยกําหนดระดบัความมีนัยสำคัญ 0.05 ทั้งนี้ สถิติที่ใชใ้นการวิเคราะห์ขอ้มูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีดังนี้ ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ค ่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) สําหรับค่า นยัสาํคญัทางสถิติที่ใชใ้นการวเิคราะห์ครั้งนี้กําหนดไวท้ี่ระดบั .05 และ .01 ผลการวจิยั พบว่าผตู้อบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลความพึงพอใจในการใช้บริการ BTS ด้านรูปภาพลักษณ์ อยู่ในระดับมาก ( x= 3.97 , S.D.= 0.69) ด้านการตอบสนองลูกค้า มีระดบัความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x = 3.78, S.D.= 0.75) ด้านความรับประกัน/ความมั่นคง มีระดับความคิดเห็นระดับมาก (x = 3.83, S.D.= 0.76) ด้านการเอาใจใส่ลูกค้า เป็นรายบุคคลมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x =3.84, S.D.= 0.72) และด้านความหน้าเชื่อถือและไว้วางใจพบว่า มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากรายการ อิทธิพลของคุณภาพชีวิตต่อผลการปฏิบัติงานของแรงงานต่างด้าว ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง จังหวัดสมุทรปราการ(สมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2562-10-02) ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์; กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล; นิตยา ศรีจันทร์อินทร์การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลกับผลการปฏิบัติงานของแรงงานต่างด้าวในอุตสาหกรรมก่อสร้าง จังหวัดสมุทรปราการ 2) ศึกษาอิทธิพลของคุณภาพชีวิตต่อผลการปฏิบัติงานของแรงงานต่างด้าวในอุตสาหกรรมก่อสร้าง จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือแรงงานต่างด้าว จำนวน 384 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test one-way ANOVA และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบสเตปไวส์ ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ต่างกันมีระดับผลการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นสถานภาพสมรส ที่ไม่แตกต่าง 2) ปัจจัยคุณภาพชีวิตการทำงาน ด้านลักษณะงานมีส่วนส่งเสริมด้านบูรณาการทางสังคม ด้านค่าตอบแทนเพียงพอและยุติธรรม และด้านลักษณะงานที่ตั้งอยู่บนฐานของกฎหมายหรือกระบวนการยุติธรรม มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงาน (R = 0.601) และสามารถอธิบายความแปรผันของผลการปฏิบัติงาน ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ร้อยละ 36.20 The purpose of this research were; 1) to compare the difference personal factor with the performance of foreign workers in the construction industry, Samut Prakarn Province; 2) to study the influence of quality of worklife toward the performance of foreign workers in the construction industry, Samut Prakarn Province. The samples were 384 migrants. Questionnaire was used for data collecting instrument. Statistics to be used in this study were percentage, mean, standard deviation, t-test, one way ANOVA, and Stepwise Multiple Regression. Findings showed that: 1) different personal factor affect different performance on significant at the 0.05 level, except for marital status; and 2) the quality of worklife factor in the aspect of job characteristics contribute to the social integration, the aspect of the adequate and fair compensation, and the aspect of work which based on the law or justice influencing the performance (R = 0.601), and could explained the variation of performance on significant at the 0.05 level by 36.20 percent.