BUS-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู BUS-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ) โดย ผู้เขียน "กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 5 ของ 5
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชา MGT423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม(Sripatum University, 2565-06-13) กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และรูปแบบพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชาMGT 423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (2) เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชา MGT423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ และ (3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีผลต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชาMGT423สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่ลงทะเบียนในรายวิชา MGT 423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ ปีการศึกษา 2565 จำนวน 73 คน ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากการรวบรวมแบบสอบถามที่ได้รับทั้งหมด นำมาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย โดยกำหนดระดับความมีนัยสำคัญ 0.05 ทั้งนี้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ สำหรับค่านัยสำคัญทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้กำหนดไว้ที่ระดับ .05 ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชา MGT423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านภาพรวมผลการเรียนรู้ของนักศึกษา รายวิชา MGT423 สัมมนา ทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุดและอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชา MGT423 สัมมนา ทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ อยู่ในระดับสูงรายการ การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชา MGT423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม(รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2566 เรื่อง นวัตกรรมเพื่อการบริการวิชาการสู่สังคมภายใต้ยุคดิจิทัลเพื่อเป้าหมายการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน หน้า 83-92, 2566-06-13) กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และรูปแบบพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชาMGT 423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (2) เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชา MGT423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ และ (3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีผลต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชาMGT423สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่ลงทะเบียนในรายวิชา MGT 423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ ปีการศึกษา 2565 จำนวน 73 คน ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากการรวบรวมแบบสอบถามที่ได้รับทั้งหมด นำมาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย โดยกำหนดระดับความมีนัยสำคัญ 0.05 ทั้งนี้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ สำหรับค่านัยสำคัญทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้กำหนดไว้ที่ระดับ .05 ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชา MGT423 สัมมนาทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านภาพรวมผลการเรียนรู้ของนักศึกษา รายวิชา MGT423 สัมมนา ทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุดและอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชา MGT423 สัมมนา ทางการบริหารและการจัดการสมัยใหม่ อยู่ในระดับสูงรายการ ปัจจัยเหตุและผลของผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่ปฏิบัติงานในธุรกิจโรงแรม เขตภาคตะวันออกของประเทศไทย(วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น : บริหารธุรกิจและภาษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2หน้า 1-21, 2562-07-01) กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเหตุและผลของผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่ปฏิบัติงานในธุรกิจโรงแรมเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย เพื่อศึกษาอิทธิพลของผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่ปฏิบัติงานในธุรกิจโรงแรม เขตภาคตะวันออกของประเทศไทย และ เพื่อพัฒนาแบบจำลองปัจจัยเหตุและผลของผลการปฏิบัติงานของพนักงานที่ปฏิบัติงานในธุรกิจโรงแรมเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานระดับหัวหน้าขึ้นไป ที่ปฏิบัติงานในธุรกิจโรงแรม เขตภาคตะวันออกของประเทศไทย จำนวน 340 คน ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการรวบรวมแบบสอบถามที่ได้รับทั้งหมด นำมาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย โดยกำหนดระดับความมีนัยสำคัญ 0.05 ทั้งนี้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้ ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลการวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัย พบว่า ตัวแปรด้านกระบวนการจัดการ ตัวแปรด้านคุณภาพชีวิตในการทำงาน ตัวแปรด้านผลการปฏิบัติงาน และตัวแปรด้านผลการดำเนินงาน มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ในขณะที่ตัวแปรด้านกระบวนการจัดการ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อตัวแปรด้านผลการปฏิบัติงาน ตัวแปรด้านกระบวนการจัดการ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อตัวแปรด้านผลการดำเนินงานของธุรกิจ ตัวแปรด้านคุณภาพชีวิตในการทำงาน มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อตัวแปรด้านผลการปฏิบัติงาน ตัวแปรด้านคุณภาพชีวิตในการทำงาน มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อตัวแปรด้านผลการดำเนินงานของธุรกิจ ตัวแปรด้านผลการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อ ตัวแปรด้านผลการดำเนินงานของธุรกิจ นอกจากนี้ ตัวแปรด้านผลการดำเนินงานของธุรกิจ ยังได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากตัวแปรด้านคุณภาพชีวิตในการทำงาน และตัวแปรด้านกระบวนการจัดการ ผ่านตัวแปรด้านผลการปฏิบัติงานรายการ อิทธิพลของแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตที่มีต่อความสุขของผู้สูงอายุเขต กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี และสมุทรปราการ.(วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมป์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯรปีที่ 10 เล่มที่ 1 มกราคม- มิถุนายน 2564 หน้า 30-48., 2564-06-30) กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุลThis research has the objective to study the level of factors, causes and effects of being an innovative organization of small and medium enterprises in the service sector of Thailand. And to study the influence of cause and effect factors of being an innovative organization of small and medium enterprise businesses in the service sector of Thailand. As well as developing an innovative corporate model. The sample group in this research selected to study only SMEs businesses in the service sector who are members of the Thai Small and Medium Enterprise Association. By choosing to study employees who have positions at the supervisor level Total of 340 people. The researcher has analyzed the data. By using a statistical package for research purposes. The level of significance was 0.05. The statistics used for data analysis were as follows: frequency and percentage values, mean and standard deviation, confirmation element analysis. And to examine the consistency of the research model with the empirical data. The research results showed that Digital technology factors Business transformation factors and System factors there was a high influence on the organizational factor. And the innovation organization factor influences the business performance at a high level as well. The digital technology factor Business transformation factors and system factors have a positive direct influence on innovative organizational factors. And innovative organizational factors have a positive direct influence on factors of business performance. The digital technology factor Business transformation factors. And working system factors have direct, positive and indirect influences on business performance factors. As well as the developed models, they are consistent with the empirical data. Keywords: Innovation organization small and medium business, enterprises in the service sector in Thailand.รายการ แบบจำลองผลการดำเนินงานทางธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคการผลิตของประเทศไทย(Sripatum University, 2565-06-30) รัชตา กาญจนโรจน์; วิชิต อู่อ้น; กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรในแบบจำลองผลการดำเนินงานทางธุรกิจ ศึกษาอิทธิพลของตัวแปรในแบบจำลองผลการดำเนินงานทางธุรกิจ และสร้างแบบจำลองผลการดำเนินงานทางธุรกิจ ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภาคการผลิตของประเทศไทย เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม 2563 โดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.978 จากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ประกอบการธุรกิจวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมภาคการผลิต จำนวน 400 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป โดยการวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้าง