บทความวิชาการ
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู บทความวิชาการ โดย วันที่ออก
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 20 ของ 272
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ นักวิเคราะห์นโยบาย : ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการวิเคราะห์นโยบาย(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณในช่วงปี ค.ศ. 1970 มหาวิทยาลัยของอเมริกาได้มีหลักสูตรเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายโดยเฉพาะ และบางมหาวิทยาลัยได้กำหนดให้วิชาการวิเคราะห์นโยบายเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการสาธารณะ และการจัดการธุรกิจ สำหรับในประเทศไทยวิชาการวิเคราะห์นโยบายจะพบในหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์โดยอาจใช้ชื่อวิชาที่แตกต่างกันไป อาจพบในชื่อ “การวิเคราะห์นโยบาย” หรือ “นโยบายสาธารณะ” ทั้งนี้การวิเคราะห์นโยบายเป็นศาสตร์ที่นักวิชาการ นักวิชาชีพ จากหลากหลายสาขาวิชาให้ความสนใจและสอดแทรกเข้าไปในเนื้อหาวิชาของตนเองด้วย ไม่ว่าจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร นักสังคมศาสตร์ หรือนักกฎหมาย เนื่องจากเป็นการกำหนดกรอบของนโยบายที่เกี่ยวกับกับการให้บริการแก่สังคม ซึ่งเป็นความต้องการของชุมชน องค์กรที่เกี่ยวข้อง และบางนโยบายอาจถือได้ว่าเป็นนโยบายของประเทศที่ผู้ปฏิบัติและผู้บริหารไม่อาจที่จะปฏิเสธที่จะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยรายการ CIPP โมเดลประเมินที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณรายการ สถาบันอุดมศึกษากับแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา(2550) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณในสังคมของกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ทุกคนคงปฏิเสธไม่ได้ว่ารู้จักหรือคุ้นเคยกับ “การประกันคุณภาพการศึกษา” มาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาจะเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้ในการเทียบเคียงสำหรับเพื่อให้เกิดการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่อไป การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามีทั้งการประกันคุณภาพภายใน เป็นการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ที่เป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพโดยบุคลากรของสถานศึกษาแห่งนั้น และการประกันคุณภาพภายนอก ที่เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา มีการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก ซึ่งกระทำโดยสำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) หรือผู้ประเมินภายนอกแล้วแต่กรณี ทำให้การประกันคุณภาพการผลิตบัณฑิตในปัจจุบันอ้างอิงถึงเกณฑ์มาตรฐานเดียวกันและกำหนดตัวบ่งชี้ชุดเดียวกันซึ่งช่วยให้ระบบอุดมศึกษามีเอกภาพได้ดี(เทียนฉาย กีระนันทน์. 2548 : 11) รูปแบบที่ใช้กันทั่วไปเพื่อให้เกิดการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการศึกษาที่ใช้กันมากคือการประเมินเชิงพัฒนาตาม PDCA (Plan = วางแผน, Do = ปฏิบัติ, Check = ตรวจสอบ และ Act = ปรับปรุง) และการประเมินเชิงเทียบสมรรถนะ(benchmark) (ประดิษฐ์ มีสุข. 2546 : 3) แต่โดยทั่วไปจะพบว่าไม่ว่าจะเป็นการประกันคุณภาพภายในหรือภายนอกก็ตาม จะเป็นการเตรียมการแบบผักชีโรยหน้ามากกว่าทำเพื่อปรับปรุงคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการที่นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา มิใช่การดำเนินการเพื่อเพียงแต่การตรวจสอบจากแฟ้ม จากเอกสารที่ได้รวบรวมเอาไว้ เพื่อให้ผู้ตรวจประเมินได้ตรวจสอบหลักฐานและใช้อ้างอิงเท่านั้น แต่ควรมุ่งเน้นที่การปฏิบัติจริง ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้นผู้เขียนจึงขอประมวลความเข้าใจในความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดจนหลักการและแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาและสภาพการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน สุดท้ายที่ประเด็นคำถามหรือปัญหาของการประกันคุณภาพการศึกษารายการ วิจัยสถาบันคืออะไร ทำไปทำไม(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2551) ขนิษฐา, ชัยรัตนาวรรณรายการ สืบค้นอย่างไรให้ได้งาน และสามารถสร้างเครือข่ายเรียนรู้ร่วมกัน(2551) ปรเมศวร์, มินศิริรายการ การใช้ Google App เพื่อสร้างเครือข่าย(2551) Jugkree Palakawong Na Ayutthayaรายการ การสืบค้นข้อมูล_บทความวิชาการ(2551) อุดม, ไพรเกษตรรายการ ศึกษาทั่วไปต้องพัฒนาอย่างไรในสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลก(2551) ไพฑูรย์, สินลารัตน์รายการ ชีวิตที่ต้องอยู่กับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะโลกร้อน(2551-01-31) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณรายการ สรุปผลที่ได้จากการอ่านรายงานวิจัยสถาบัน เรื่อง แนวทางการปฏิรูปการจัดการอุดมศึกษา(2551-02-09) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณแนวทางในการบริหารจัดการการอุดมศึกษา ควรพัฒนาศักยภาพและพัฒนาอาจารย์ พัฒนาผู้บริหาร พัฒนาเจ้าหน้าที่และมุ่งพัฒนานักศึกษา แต่ปัจจัยที่เป็นเงื่อนไขในการกำหนดความเป็นไปได้ในการบรรลุถึงวิสัยทัศน์ ซึ่งมีดังนี้คือ 1) งบประมาณที่มีอย่างจำกัด 2) ความพร้อมของบุคลากร ซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาในการพัฒนา เพื่อปรับเปลี่ยน ให้ดีขึ้นมีคุณภาพมากขึ้น 3) ปริมาณอุปกรณ์ทางด้าน เทคโนโลยีซึ่งมีอยู่อย่างจำกัด ไม่เพียงพอ ซึ่งการลงทุนทางด้านนี้ต้องใช้ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงมาก และ 4) โครงสร้างการบริหารจัดการยังไม่พร้อมต่างคนต่างทำหน้าที่ของตนเอง ยังมีการทำงานซ้ำซ้อนกันอยู่ จึงทำให้มีการใช้ทรัพยากรที่ไม่มีประสิทธิภาพรายการ รายงานการอ่านวิจัยสถาบัน เรื่อง การจัดการเรียนการสอน(2551-02-09) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณการศึกษาเพื่อทำการประเมินการจัดการเรียนการสอน(กรณีศึกษา :ของวิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา วาสุกรี) ตามความคิดเห็นของผู้ใช้(นักศึกษา) ในแต่ละด้าน ซึ่งมี 5 ด้าน คือ พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา เนื้อหาสาระในวิชาที่สอน สภาพแวดล้อมของห้องเรียนและอุปกรณ์ประจำห้องเรียน คุณลักษณะของอาจารย์ผู้สอน และการดำเนินการจัดการสอบรายการ การใช้งานวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างมืออาชีพ(2551-02-09) ขนิษฐา, ชัยรัตนาวรรณงานวิจัยอะไรที่ควรทำ ทำแล้วใครได้ประโยชน์ คุณสมบัติใดจึงเรียกว่าเป็นนักวิจัยมืออาชีพ และการแปลงแปลงงานวิจัยเกิดขึ้นจากสิ่งใด ต้องอ่านงานแปลจากการบรรยายของ Dr. Susan Jungck,2008 ในหัวข้อ Using Research to Improve Professional Practiceรายการ ๖๕ ปี "พระธรรมปิฎก"(2551-02-11T07:17:45Z) ธนภณ สมหวังบทความเนื่องในมงคลวาร 65 ปีพระธรรมปิฎก(ประยุทธ์ ปยุตฺโต) ตีพิมพ์ในมติชนรายวันรายการ 69 ปี พระพรหมคุณาภรณ์(2551-02-11T07:26:38Z) ธนภณ สมหวังบทความเนื่องในมงคลวาร 69 ปี พระพรหมคุณาภรณ์(ประยุทธ์ ปยุตฺโต)ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์มติชนรายการ Theravada Buddhist Monk and the Making of Modern Thai Society with Special Reference to Phra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto)(2551-02-11T07:45:37Z) Dhanapon Somwangabstract of article presented at University of the Thai Chamber of Commerce, Thailand in "the 2 nd Language in the Realm of Social Dynamics international conference 2008"รายการ 68 ปี พระพรหมคุณาภรณ์(2551-02-11T07:58:52Z) ธนภณ สมหวังบทความเนื่องในมงคลวาร 68 ปีพระพรหมคุณาภรณ์ ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์มติชนรายวันรายการ รายการ รายการ 69 ปี พระพรหมคุณาภรณ์(2551-02-11T12:15:31Z) ธนภณ สมหวังบทความเนื่องในมงคลวารวันคล้ายวันเกิดพระพรหมคุณาภรณ์ ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์มติชนรายวันรายการ พุทธธรรม(2551-02-11T12:27:49Z) ธนภณ สมหวังบทความเนื่องในมงคลวารวันคล้ายวันเกิดพระธรรมปิฎก ได้รับการตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน