ARC-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู ARC-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ) โดย วันที่ออก
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 20 ของ 55
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ Sustainable Urban Environmental Condition Development in Southeast Asia(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2545-09) Nuttawut Usavagovitwongความยั่งยืนที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ประกอบกับ การพัฒนาโดยคำจำกัดความที่องค์การสหประชาชาติ ได้ลงตัวไว้ใน Agenda ที่ 21รายการ Architecture and Urbanism in Heterogeneous Society: Issues of Class and Gender(วิภาษา, 2550) Nuttawut Usavagovitwongมีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบสถาปัตยกรรมและการผังเมืองรายการ รื้อสร้างแนวคิดในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม(2551-07) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์รายการ บทวิจารณ์หนังสือ "Planet of Slums"(2551-08) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์เป็นงานเขียนี่ต่อยอดจากจุดเริ่มต้นได้กล่าวถึงประชากรที่อาจมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนมากขึ้น และมีการอาศัยอยู่มนเมืองมากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันในเมืองมีการพัฒนาเป็นไปในแบบไม่เท่าเทียมรายการ ชวนมองกายภาพเมือง(2552) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ส่วนตัวผมเองอยากจะลองตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าหากอาคารมันถูกออกแบบมาอย่างสวยงาม มีรสนิยม (อย่างสากลหรือตะวันตกก็ตามแต่) นั้นสิ่งเหล่านี้จะทำให้บ้านเมืองสวยขึ้น น่าอยู่ขึ้นมาจริงหรือไม่ หากคิดจากฐานกายภาพ (โดยยังไม่เอาคนเข้ามาเกี่ยวข้อง) เมืองจะดูลงตัว มีเสน่ห์ทางกายภาพต่อผู้อยู่อาศัยหรือผู้มาเยือน หากอธิบายในเชิงทวินิยม (เช่น ความมืด-ความสว่าง, ขาว-ดำ, ชั่ว-ดี, ฯลฯ) ผมเชื่อว่าประกอบด้วยทั้งตัวอาคารในฐานะ ตัววัตถุ (Positive image) และที่ว่างระหว่างอาคารในฐานะ ความเว้นว่าง (Negaitve image)รายการ จากถนนสู่คนเดิน(2552) ชนกพร ไผทสิทธิกุลภาพเคลื่อนไหวของมอเตอร์ไซค์และรถยนต์บนถนนสายต่างๆ เป็นสิ่งที่ชินหูชินตาท่ามกลางเมืองใหญ่น้อย สู่เรื่องราวความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจกับการผสมผสานของวัฒนธรรมพื้นถิ่น ก่อให้เกิดพื้นที่สาธารณะที่ผนวกรวมกับแนวคิดในการพัฒนาเมือง รวมไปจนถึงการใช้ประโยชน์และตอบรับกับวิถีทางวัฒนธรรม โชยด้วยกรุ่นกลิ่นอายของการโหยหาอดีต (nostalgia) ของยุคที่ปรารถนาต่อการรื้อฟื้นรายการ เยาวราชวันนี้(2552) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์รายการ อำนาจในสี่แยก(2552) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์สี่แยกไฟแดงนั้นมีกติกาแห่งอำนาจกำกับอยู่เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยต่อการจราจร อำนาจของสี่แยกไฟแดงโดยทั่วไปอยู่ที่ตำรวจจราจร และสัญญาณไฟเขียว ไฟแดง อย่างที่เราพอจะทราบกันดีว่ากลไกแห่งการควบคุมเหล่านี้มักไม่ได้ผลเท่าที่ควรรายการ เหลียวหลังมองชายแดน(2552) ชนกพร ไผทสิทธิกุลรายการ คนสองนคร : (Urban Bigamy)(2552-02-24) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ปรากฏการณ์หนึ่งคนในสองนครหมายถึงคนที่มีภูมิลำเนาในท้องที่หนึ่ง แต่มีผูกพันธ์ หรืออาศัยอยู่ในอีกท้องที่หนึ่ง ทั้งในฐานะที่เป็นแหล่งงานหรือที่พักพิงจากภัยสงครามก็ตาม ที่คนคนหนึ่งอาศัยอยู่เข้าๆ ออกๆ ระหว่างสองดินแดนปรากฏกาณณ์ดังที่กล่าวมาเป็นสิ่งที่เกือบจะธรรมดาแล้วในสังคมเมืองยุคหลังอุตสาหกรรมใหญ่ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะที่เกิดขึ้นแล้วในโลกตะวันตก ทั้งในสหรัฐฯ ซึ่งถือว่ามีความเป็นพหุสังคมมากที่สุดประเทศหนึ่งของโลก (ได้หลอมรวมความเป็นชาติจากความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งละตินอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย) ในทำนองเดียวกันกับสังคมยุโรปหลายประเทศ ซึ่งการผสานความหลากหลายทางเชื้อชาติ กำลังกลายเป็นภาพสังคมใหม่ที่ความเป็นประเทศในฐานะ “ภูมิศาสตร์แห่งความเป็นเชื้อชาติเดียวกัน” เริ่มสลายลง อาทิ สังคมฝรั่งเศสที่มีต่อคนจากแอฟริกา สังคมเยอรมันที่มีต่อคนตุรกี หรือแม้แต่สังคมอังกฤษที่มีต่อคนอินเดียและปากีสถาน เป็นต้นรายการ Learning from post-tsunami housing programme delivery, Thailand(2552-03) Nattawut UsavagovitwongAfter the Tsunami aftermath in Thailand, many housing projects were instigated with partially or fully supporting the alleviation of communities’ accommodation and, indirectly, underpinned community-based housing design and planning concept. There have been two obvious approaches; the fully donation-based housing programme, delivered directed from the donors, and the social-based housing programme based on communal reciprocity with the assistance from local/national non-government development organisations (NGOs). Having taking part in a couple of change to the number of case studies, the author mirrors their processes and results in different settlement characteristics in terms of physical configuration, community-based organisation, and the social-relation of the community members. The paper presents three issues; 1) The patterns of housing programme delivery in post-Tsunami, Thailand; 2) a short comparison of how different housing programmes affect social relationships among the dwellers and how neighbourliness may be re-established; and 3) a discussion on positive and negative impacts of post-Tsunami housing programme delivery as well as on lessons to be learnedรายการ ขอบและศูนย์กลาง(2552-03-02) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์คำว่า “ใจกลางเมือง” นั้น เกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่ผมเองก็ไม่ทราบดี แต่ตามความเข้าใจของผม “ย่านใจกลางเมือง” กินความอย่างน้อยสองนัยยะ คือ ความหมายแรก เป็นความหมายเชิงภูมิศาสตร์ ที่แสดงออกถึงความเป็น “ย่านพื้นที่” และ ความหมายที่สอง เป็นความหมายเชิงเศรษฐศาสตร์ ที่แสดงออกถึงศูนย์กลางแห่งกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (หรือทุน) แห่งสังคมนั้นๆ ที่ผมสนใจอยากเล่าให้ฟังก็คือคำดังกล่าวได้สร้างสิ่งที่อยู่ “นอก” ใจกลางเมืองขึ้นมา โดยความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นศูนย์กลาง – สิ่งนอกศูนย์กลาง (ชายขอบ) กำลังเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในวงวิชาการหลายสาขา เพื่ออธิบายเรื่องที่ว่ามานี้ผมอยากอธิบายผ่านความสัมพันธ์ของแหล่งงาน กับที่อยู่อาศัยรายการ เมืองสีเขียวกับทุนนิยม(2552-03-11) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์กระแสเพื่อ “สีเขียว” ที่ถูกให้ความหมายของการพัฒนา การบริโภค หรือการผลิต ที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนในสังคมไทยขณะนี้ ได้กลับมาเป็นที่คำนึงถึงได้พักใหญ่ แม้ว่าจะเคยได้มีการพูดถึงประเด็นนี้มาก่อนหน้าเมื่อเกือบสิบปีที่แล้วก็ตาม แต่รอบนี้นั้นดูเหมือนจะยาวนานและกว้างขวางกว่า ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากกระแสหนังสือ Inconvenient Truth ของ อัล กอร์ ทำให้กระแสเพื่ออะไรก็ตามที่ประกอบด้วยคำคุณศัพท์ว่า “สีเขียว” หรือ “ความยั่งยืน” ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืน ฯลฯ ได้ปรากฎรูปธรรมของความพยายามหลายอย่าง อาทิ เขียวผ่านการบริโภค (ถุงผ้าลดโลกร้อน) ไปจนถึงคาร์บอน เครดิต, อาคารประหยัดพลังงาน และเมืองสีเขียว (Green cityรายการ ทรรศนะอุจาด (อีกครั้ง)(2552-03-16) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์รายการ ความเป็นสาธารณะที่ไม่มีในเมือง(2552-03-31) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ในสภาวะสังคมที่ความเป็นเมืองทวีความเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ ในวงวิชาการได้คาดการณ์ว่าภายใน 30-40 ปี ข้างหน้า ประชากรกึ่งหนึ่งของโลกจะอาศัยอยู่ในพื้นที่เมือง หรือพูดอย่างง่ายๆ คือคนกึ่งหนึ่งจะยังชีพโดยพึ่งพิงภาคเศรษฐกิจจากอุสาหกรรมการผลิตและภาคบริการรายการ เปิดมุมมองสถาปัตย์หลังพายุนาร์กิส(2552-03-31) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ภายหลังจากเหตุการณ์พิบัติภัยทางธรรมชาติจากพายุนาร์กิสในประเทศพม่าเมื่อกลางปี พ.ศ. 2551 นั้นได้ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงแก่พื้นที่บริเวณลุ่มแม่น้ำอิระวดี อันเป็นแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ เนื่องจากพื้นที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์อันมาก ถึงแม้ว่าภายหลังเหตุการณ์ดังกล่าวจะมีหน่วยงานภายนอกได้หยิบยื่นความช่วยเหลือเข้าไปยังพื้นที่ แต่การช่วยเหลือที่เป็นไปอย่างล่าช้าเพราะข้อจำกัดทางการเมืองได้ทำให้ชาวบ้านส่วนใหญ่ต้องช่วยเหลือตัวเอง รวมทั้งการฟื้นฟูที่อยู่อาศัยและสถาปัตยกรรมขั้นมูลฐานของวิถีชีวิตของคนพม่าอย่าง บ้านและวัดรายการ ตลาดร้อยปี(2552-04-13) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์กระแสการท่องเที่ยวในเชิงวัฒนธรรมชุมชนกำลังเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง และหนึ่งในจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยวในแนวทางนี้ก็คือการเยี่ยมชมตลาดเก่า หรือที่ผู้คนบางกลุ่มอาจนิยมเรียกติดปากว่า ตลาดร้อยปีรายการ ความหมายของห้างสรรพสินค้า(2552-04-27) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์รายการ ความทรงจำแห่งสถานที่(2552-05-11) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์รายการ บาทวิถี...ที่ของฉัน(2552-05-25) ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์หลายคนคงเคยมีปัญหาเรื่องพื้นที่ทางเดินริมถนนของเมืองใหญ่ในบางย่านที่พลุกพล่าน อาทิ ตามพื้นที่หน้ามหาวิทยาลัย ย่านออฟฟิศและสำนักงาน ฯลฯ เราจะพบว่ามีร้านค้าอย่างไม่เป็นทางการ หาบเร่ แผงลอย ตั้งอยู่จนเต็มทางเท้าเหล่านั้น ทั้งๆ ที่ตามกฏหมายแล้วเป็น “พื้นที่สาธารณะ” จนทำให้เราๆ ท่าน ๆ ต้องกมาเดินอยู่บนถนนให้รถเฉี่ยวไปมาแทน
- «
- 1 (current)
- 2
- 3
- »