SITI-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู SITI-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์ โดย วันที่ออก
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 20 ของ 33
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ A STUDY OF ACTIVE LEARNING ATIVITIES IN TEACHING CHINESE VOCABULARY IN BEACONHOUSE YAMSAARD RANGSIT SCHOOL(Sripatum University, 2565) LIN LILINGThe objectives of this research were: 1) to study the active learning activities in kindergarten teaching Chinese vocabulary, and 2) to compare students' achievement in active learning activities before and after teaching Chinese vocabulary.รายการ THE SUGGESTIONS FOR THE ANXIETY OF COLLEGE STUDENTS DURING COVID-19(Sripatum University, 2565) HAO YUThe purposes of this study were to: 1) to study the anxiety of college students during COVID-19, and 2) to give suggestions to alleviate the anxiety of students during COVID-19.รายการ A DEVELOPMENT OF PLAY-BASED LEARNING THROUGH SONGS TO IMPROVE CHINESE VOCABULARY ACQUISITION OF KINDERGARTEN STUDENTS IN THAILAND(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565) YIQIAN YANGThe objectives of this research were: (1) to investigate how to design an effective teaching method of Play-based Learning through songs to improve Chinese vocabulary acquisition of kindergarten students in Thailand, and (2) to investigate the effectiveness of Play-based Learning through songs to improve Chinese vocabulary acquisition of kindergarten students in Thailand. A quantitative analysis was used in this research. 17 students of K1 from Double Trees International Kindergarten Ratchaphruek campus in Bangkok were divided into two groups, including an experimental group and a control group to participate in this research. Two research instruments were designed to obtain data, including lesson plans and the post-test (the Chinese vocabulary speaking test and the Chinese character matching test). The data was analyzed by means of descriptive statistics, independent sample t-test and content analysis. The results of the analyses revealed that (1) students in the experimental group achieved significantly higher scores on the Chinese vocabulary speaking test than students in the control group; and (2) Students' Chinese character matching test scores in the experimental group were higher than the control group, but not significantly. In summary, the final total scores indicate that the experimental group's Chinese vocabulary acquisition which conducted through the use of play-based learning through songs was superior to that of the control group through a traditional method. The findings suggest that this teaching method can effectively improve students' speaking vocabulary. It is recommended that play-based learning is to be employed with young learners when learning a second language.รายการ A STUDY OF STUDENTS’ ACHIEVEMENT IN TEACHING CHINESE VOCABULARY FOR THAI STUDENTS USING TEACHING MEDIA(Sripatum University, 2565) XUELIAN GONGThe research is mainly conducted for two aspects : 1) to study the students' activities in teaching Chinese vocabulary ,and 2) to compare the students' achievement before and after teaching Chinese vocabulary.รายการ THE GAMIFICATION IN TEACHING ENGLISH TO GRADE 5 STUDENTS OF ST, ROBERTS'S INTERNATIONAL COLLEGE IN BANGKOK,THAILAND(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565) FRANCIS GALINDEZThe purposes of this research were to : a) study the pre-test and post test scores of Grade-5 students at St. Robert's International College in their English subjects using Gamification, b) compare the pre-test and post-test scores of Grade-5 students at SRIC in their English subjects using Gamification, and c) study the level of satisfaction of grade 5 students at SRIC after using gamification model in their English subject. The target group was 15 Grade 5 elementary students of St. Robert's International College in the second semester of the academic year 2021,and the research tools were adopted pre-test and post-test, a satisfaction survey, and a self-constructed lesson plan on the implementation of gamification in a language classroom. Three experts checked the content validity of the lesson plan based on the index of item-objective congruence ratings. The data was analyzed using percentage, frequency, means and t-test. The findings of this study showed that a) the average post-test scores of Grade-5 students was mean = 8.70, S.D. = 1.38, and the average score of the pre-test mean = 6.65, S.D. = 2.16, b) the comparison of pre-test and post-test were statistically significant at a level of 0.001 with the level of (p<0.05), thereby accepting the research hypothesis that there is a significant difference in the pre-test and post-test score, and c) there were 13 students or 90% had the most satisfied level and 2 students or 10% had very satisfied level.รายการ A STUDY OF TEACHING DESIGN FOR INFORMATION TECHNOLOGY COURSE BASED ON STEAM EDUCATION CONCEPT CASE STUDY : CHINESE PRIMARY SCHOOL(Sripatum University, 2565) YAO LUThis study mainly uses the literature analysis method, survey research method, and action research method. There are three objectives: 1) To analysis the teaching status of the primary school curriculum, 2) To study the process of a successful STEAM education concept teaching design, 3) To study the feasibility process and implementation of primary school teaching design under the STEAM education concept.รายการ การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการวิถีพุทธด้วยบอร์ดเกม สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดบวรนิเวศ(Sripatum University, 2565) พระมหาวรุธ สันราษฎร์การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ จำนวน 3 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการวิถีพุทธด้วยบอร์ดเกม 2) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการวิถีพุทธด้วยบอร์ดเกมที่ส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทิศ 6 และ 3) เพื่อประเมินผลการเรียนรู้เชิงบูรณาการวิถีพุทธจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบอร์ดเกมรายการ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือบูรณาการการอ่านและการเขียน (CIRC) ร่วมกับเทคนิคเกมมิฟิเคชันเพื่อพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565) อรศุภางศ์ คงพิทักษ์การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือบูรณาการการอ่านและการเขียน (CIRC) ร่วมกับเทคนิคเกมมิฟิเคชันเพื่อพัฒนาความสามารถการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือบูรณาการการอ่านและการเขียน(CIRC) ร่วมกับเทคนิคเกมมิฟิเคชัน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเทศบาลวัดประทุมคณาวาส (นิพัทธ์หริณสูตร์) จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือบูรณาการการอ่านและการเขียน (CIRC) ร่วมกับเทคนิคเกมมิฟิเคชัน และ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถการเขียนสะกดคำ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent)รายการ การพัฒนาความสามารถการพูดภาษาอังกฤษด้วยเทคนิคการโค้ชเพื่อเตรียมความพร้อมเข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565) วิจิตรา โพธิ์ทองนาคการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการโค้ชในการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าการคัดเลือกเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน 2) ศึกษาความสามารถการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าการคัดเลือกเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการโค้ช กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ที่ผ่านการคัดกรองคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้จํานวน 40 คน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการโค้ช ซึ่งมีความเหมาะสมในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.80 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.25 และ 2) แบบประเมินความสามารถการพูดภาษาอังกฤษ ซึ่งมีผลดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.67-1.00 ถือว่าแบบประเมินนําไปใช้ได้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ t-test dependentรายการ USING GAME - BASED LEARNING IN TEACHING CHINESE FOR THAI STUDENTS WITH BASIC CHINESE LEVEL : A CASE STUDY OF PRIMARY SCHOOL STUDENTS IN THAILAND(Sripatum University, 2565) YAN SIMIThis research study examined game based learning in Chinese vocabulary learning. There are two objectives: (1) To study students' interest in learning through game based learning. (2) To study the Chinese achievement before and after game-based learning. Analysis was done across the triangulation of the data collection methods, including lesson plans, pre-test, post-test, questionnaires.รายการ การศึกษาการมีส่วนร่วมในกิจกรรมภาษาต่างประเทศโดยใช้กิจกรรมเป็นฐานสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม(Sripatum University, 2565) ภีมพัฒน์ วรโชติธีรวัชร์การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน และ 2) ศึกษาประโยชน์ของการจัดกิจกรรม SPU's Got Talent 2019 สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม กลุ่มเป้าหมายที่เลือกใช้ คือ นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์และนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติศรีปทุม ที่เข้าร่วมประกวดแข่งขันกิจกรรม SPU's Got Talent 2019 เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ความถี่ ร้อยละ และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานรายการ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกส่งเสริมทักษะการเขียนเนื้อหาในสื่อวิดีโอไมโครเลิร์นนิง(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565) ชยางกูร ภักดีพัฒนกุลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกส่งเสริมทักษะการเขียนเนื้อหาในสื่อวิดีโอไมโครเลิร์นนิง 2. เพื่อประเมินทักษะการเขียนเนื้อหาในสื่อวิดีโอไมโครเลิร์นนิง โดยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยมีการคัดเลือกแบบดควตา ตามเงื่อนไขที่กำหนดขึ้น จำนวน 40 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยทดลองขั้นต้น โดยมีแบบแผนการวิจัยคือศึกษา 1 กลุ่ม วัดผลการทดลอง 1 ครั้ง โดยเครื่องมือวิจัยมีผลดังนี้ 1. แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุมิ มีดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1.00 2. แผนการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกส่งเสริมทักษะการเขียนเนื้อหาในสื่อไมโครเลิร์นนิงที่สร้างขึ้นตามแบบแผนงานวิจัย มีคะแนนที่ระดับ 5 ซึ่งเป็นระดับความเหมาะสมมากที่สุด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส้วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ One sample t-testรายการ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ โดยใช้ห้องเรียนกลับด้าน บนเว็บแอปพลิเคชัน สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(Sripatum University, 2565) สุจินต์ พึ่งบุญเก่าการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้ห้องเรียนกลับด้าน บนเว็บแอปพลิเคชัน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ห้องเรียนกลับด้าน บนเว็บแอปพลิเคชัน สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้หลักสูตรระยะสั้นแบบห้องเรียนกลับด้าน เรื่อง ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ เว็บแอปพลิเคชัน Google Classroom และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษรายการ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านเพื่อส่งเสริมความสามารถในการตัดต่อวิดิโอ ของกลุ่มนักศึกษาปริญญาตรี(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565) ฐปฑนรรฆ พานิชการวิจัยในครั้งนี้มัวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านเพื่อส่งเสริมความสามารถในการตัดต่อวิดีโอของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการตัดต่อวิดีโอของนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลังจากการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านเมื่อเทียบกับเกณฑ์ เป็นการวิจัยแบบศึกษากลุ่มเดียว วัดครั้งเดียว (The One-Group Posttest-Only Design) เป็นการเก็บข้อมูล กลุ่มที่ศึกษาคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะโลจิสต์ติกและซับพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ชั้นปี ที่ 2 จำนวน 180 คน และมีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างในการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ วีดีโอการสอนตัดต่อ และแผนการสอน แบบประเมินผลงานสถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ซึ่งผลการวิจัยพบว่า ตอบวัตถุประสงค์ทั้ง 2 ข้อ นักศึกษามีความสามารถในการตัดต่อวีดีโอเพิ่มมากขึ้นหลังจากมีการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านเมื่อเทียบกับเกณฑ์รายการ EXPLORING THE USEFULNESS OF MOBILE ASSISTED LANGUAGE IN ENHANCING ENGLISH VOCABULARY OF FIRST - YEAR STUDENTS AT SRIPATUM UNIVERSITY(Sripatum University, 2565) NIKA KARINA SARMIENTOThis study is aimed at Exploring the usefulness of Mobilc Assisted I anguage Learning in enhancing English vocabulary acquisition of First year students at Sripatum University as a 21st Century learning tool in the classroom. The Main focus is 1.) to investigate how first-year students use their mobile devices as tools in English vocabulary learning, 2.) to identify the Mobile devices applications that the students use in English vocabulary acquisition and finally 3.) to compare students' vocabulary knowledge after using MALL through Pre-test and Post-test.รายการ การศึกษาการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานและโรคอ้วนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน(Sripatum University, 2565) ภัทรนันท์ ไวทยกุลการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการจัดการการเรียนรู้เกี่ยวกับการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานและโรคอ้วน โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (2) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังการทำกิจกรรม เรื่องการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานและโรคอ้วน โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (3) ศึกษาความพึงพอใจ เรื่องการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานและโรคอ้วน โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ เจ้าหน้าที่หน่วยโรคระบบการหายใจและวัณโรคโรงพยาบาลศิริราชรายการ การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง การสร้างคำด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ โดยใช้เกมเป็นฐาน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(Sripatum University, 2565) คิดลึก สังข์สาลีรายการ การพัฒนาการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารในครอบครัว(Sripatum University, 2565) สุรเสกข์ ยุทธิวัฒน์การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาระบบการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายออนไลน์ในการเพิ่มศักยภาพการสื่อสารของผู้ปกครองครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่น และ (2) เพื่อสร้างข้อเสนอแนะในการนำระบบฝึกอบรมออน ใลน์ไปใช้เพื่อขยายเครือข่ายที่รองรับกับความต้องการของผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย โดยต้องการทดลองเพื่อหารูปแบบการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาศักยภาพด้านการสื่อสารของผู้ปกครอง ให้ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักรับรู้ถึงปัญหาการสื่อสารภายในครอบครัว รู้วิธีการในการจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวของตนอย่างมีประสิทธิภาพรายการ THE DEVELOPMENT OF STUDENTS’CHINESE SPEAKING SKILL USING COLLABORATIVE ACTIVITIES IN SATRIWITHAYA HIGH SCHOOL(Sripatum University, 2565) OUYANG TIANTINGCollaborative learning is a new teaching method, which is student-centered. It is also a new teaching model to apply it in teaching Chinese as a foreign language class. This research will be conducted in the Chinese class of Satriwithaya high school. There are two objectives: 1) to study the collaborative activities in Chinese speaking class, 2) to evaluate students Chinese speaking skill after using collaborative activities in the Chinese speaking class. In teaching experiments, this teaching experiment is based on a review of the literature. This paper selected three collaborative activities for teaching experiments, namely outdoor practice (Chinese interview), business conversation (role play) and Chinese tongue twister.รายการ หลักสูตรเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ด้วยเทคนิคกิจกรรม การบูรณาการการจัดการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565) ชนัญชิดา สุขทัศน์การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ด้วยเทคนิคกิจกรรมการบูรณาการการจัดการเรียนรู้ส าหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(2) พัฒนาหลักสูตรฯ (3) เปรียบเทียบการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เมื่อได้รับการจัดการเรี ยนรู้ด้วยหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนเทศบาลบ้านปากทาง สังกัดเทศบาลเมืองพิจิตร ภาคเรียนที่1 ปี การศึกษา 2565 จำนวน 30 คน ใช้วิธีการคัดเลือกแบบอาสาสมัครเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1. หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ 2. แบบวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ t –test dependent ผลการวิจัยพบว่า1) แนวทางการพัฒนาหลักสูตรฯ ควรเน้นให้นักเรียนเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่สามารถเรียนรู้ถึงกลวิธีในการรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสารบนสื่อสังคมออนไลน์ โดยยกตัวอย่างสถานการณ์หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริงกับนักเรียนได้วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารและรู้เท่าถึงวิธีการเอาตัวรอดจากการกระทำผิดของผู้ไม่หวังดีในสื่อสังคมออนไลน์ เนื้อหาสาระสำคัญต้องเป็นเนื้อหาสาระที่ทันสมัย ใช้สื่อหรือนวัตกรรมที่มีอยู่แล้วมาใช้ประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2) หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดแลประเมินผล ทั้งนี้หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากโดยมี x =4.31, S.D. = 0.17และ x= 4.40, S.D. = 0.24 ตามล าดับ 3) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น มีการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05