Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6358
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรรษวุฒิ โพธิ์ทองen_US
dc.date.accessioned2019-09-07T05:13:39Z-
dc.date.available2019-09-07T05:13:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.citationพรรษวุฒิ โพธิ์ทอง. 2562. "มาตรการทางกฎหมายในการกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความและ ที่ปรึกษากฎหมายมีหน้าที่รายงานการทำธุรกรรมตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542." สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มกฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6358-
dc.descriptionพรรษวุฒิ โพธิ์ทอง. มาตรการทางกฎหมายในการกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความและ ที่ปรึกษากฎหมายมีหน้าที่รายงานการทำธุรกรรมตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มกฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ.2562en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการรายงานการทำธุรกรรมตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และศึกษาถึงลักษณะของการประกอบวิชาชีพของทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย โดยศึกษาจากกฎหมายของประเทศไทยเปรียบเทียบกับมาตรการสากลตามข้อแนะนำของ FATF กฎหมายประเทศสิงคโปร์ สหราชอาณาจักรและประเทศนิวซีแลนด์ ที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว เพื่อนำมาแก้ไขเพิ่มเติมผู้มีหน้าที่ในการรายงานการทำธุรกรรมตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 เพื่อให้กฎหมายดังกล่าวมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จากการศึกษาพบว่าในปัจจุบัน การประกอบวิชาชีพของทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย มีลักษณะเข้าไปเกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพย์สินของลูกความ ในการเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ การให้บริการในการจัดตั้งองค์กรทางธุรกิจ หรือการให้บริการให้คำปรึกษาในการทำนิติกรรมหรือสัญญา เป็นต้น โดยในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายมีการเข้าไปเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินหรือทุนทรัพย์เป็นจำนวนมาก ซึ่งผู้กระทำความผิดที่กำหนดไว้เป็นความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 สามารถใช้บริการจากผู้ประกอบวิชาชีพดังกล่าวได้ แต่พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 ยังไม่มีมาตรการทางกฎหมายกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายมีหน้าที่ต้องรายงานการทำธุรกรรม ในธุรกรรมบางประเภท ดังเช่นมาตรฐานสากลหรือกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินของประเทศสิงคโปร์ สหราชอาณาจักรและประเทศนิวซีแลนด์ จึงทำให้ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายของไทยตกอยู่ในความเสี่ยงที่อาจถูกใช้เป็นเครื่องมือในการฟอกเงินหรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการฟอกเงินได้en_US
dc.description.sponsorshipคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_พรรษวุฒิ โพธิ์ทอง_T184032en_US
dc.subjectทนายความและที่ปรึกษากฎหมายen_US
dc.subjectการรายงานธุรกรรมen_US
dc.subjectกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินen_US
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความและ ที่ปรึกษากฎหมายมีหน้าที่รายงานการทำธุรกรรมตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542en_US
dc.title.alternativeLEGAL MEASURE OF REQUIRING ATTORNEY-AT-LAW AND LEGAL COUNSEL TO REPORT TRANSACTION INVOLVED UNDER ANTI-MONEY LAUNDERING ACT B.E. 2542en_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:LAW-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.